ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2561

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2561 คือช่วงของฤดูกาลในอดีต ที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนภายในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก เป็นฤดูกาลที่ผลิตค่าการสะสมพลังงานในพายุหมุน (ACE) สูงที่สุดเท่าที่บันทึกมาในแอ่งแปซิฟิกตะวันออก โดยฤดูกาลนี้จะเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤษภาคม ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และวันที่ 1 มิถุนายน ในตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิก และไปจบลงพร้อมกันในวันที่ 30 พฤศจิกายน[1] โดยขอบเขตดังกล่าวเป็นระยะเวลาที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแปซิฟิก อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ที่พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวขึ้นได้ตลอดเวลา ดังที่แสดงให้เห็นโดยพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกแรกของฤดูกาลนี้ ซึ่งก่อตัวเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม โดยฤดูกาลนี้มีพายุก่อตัวและได้รับชื่อจำนวน 23 ลูก ถือเป็นฤดูกาลที่มีพายุหมุนเขตร้อนมากที่สุดเป็นอันดับที่สี่

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2561
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ระบบสุดท้ายสลายตัว6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อวากาลา
 • ลมแรงสูงสุด160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด920 มิลลิบาร์ (hPa; 27.17 inHg)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด26 ลูก, ไม่เป็นทางการ 1 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด23 ลูก, ไม่เป็นทางการ 1 ลูก
พายุเฮอริเคน13 ลูก
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่
(ระดับ 3 ขึ้นไป)
10 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด42 คน
ความเสียหายทั้งหมด> 1.32 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2018)
ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก
2559, 2560, 2561, 2562, 2563

พายุที่ได้รับชื่อเป็นลูกที่สองของฤดูกาลคือ พายุเฮอริเคนบัด ซึ่งพัดเข้าโจมตีในรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์ในช่วงกลางเดือนมิถุนายน สร้างความเสียหายเล็กน้อย ต่อมาพายุโซนร้อนคาร์ลอตตา ซึ่งก่อตัวและพัดไปตามแนวชายฝั่งของประเทศเม็กซิโก ซึ่งก็สร้างความเสียหายอย่างเล็กน้อยเช่นกัน ในช่วงต้นเดือนสิงหาคม พายุเฮอริเคนเฮกเตอร์ ได้กลายเป็นหนึ่งในพายุหมุนเขตร้อนไม่กี่ลูกที่เคลื่อนตัวข้ามไปที่แอ่งแปซิฟิกตะวันตก และยังส่งผลกระทบกับรัฐฮาวายด้วย ต่อมาอีกไม่กี่สัปดาห์ พายุเฮอริเคนเลน ทวีกำลังแรงขึ้นได้ถึงระดับ 5 และยังกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่ทำให้ปริมาณน้ำฝนเยอะที่สุดเท่าที่บันทึกมาในรัฐฮาวาย และเป็นอันดับที่สองในประวัติศาสตร์สหรัฐ เป็นรองจากพายุเฮอริเคนฮาร์วีย์เมื่อปีก่อน ต่อมาพายุเฮอริเคนโอลิเวียได้ส่งผลกระทบกับรัฐฮาวายอีก สร้างผลกระทบเล็กน้อย ในช่วงปลายเดือนกันยายน พายุเฮอริเคนโรซา และ พายุเฮอริเคนเซร์ฆิโอ ก่อตัวขึ้น ทั้งสองลูกทำให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและน้ำท่วมฉับพลันขึ้น ในคาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนียและภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ ในขณะเดียวกันนั้น พายุเฮอริเคนวากาลา ได้บรรลุความรุนแรงที่ระดับ 5 ก่อนที่จะอ่อนกำลังลงในหมู่เกาะฮาวายตะวันตกเฉียงเหนือ ต่อมาในช่วงปลายเดือนตุลาคม พายุเฮอริเคนวิลลา กลายเป็นพายุลูกที่สามของฤดูกาลที่เป็นพายุระดับ 5 ก่อนพัดโจมตีในรัฐซีนาโลอาในฐานะพายุเฮอริเคนขนาดใหญ่

พายุหมุนเขตร้อนสี่ลูกที่มีกิจรรมอยู่ในวันที่ 7 สิงหาคม: พายุเฮกเตอร์ (ซ้าย), พายุคริสตี (กลาง), พายุจอห์น (ขวา) และพายุอิเลียนา (กำลังรวมเข้ากับพายุจอห์นทางด้านขวา)

ภาพรวมฤดูกาล แก้

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก (SSHWS)
  พายุดีเปรสชันเขตร้อน (≤62 กม./ชม.)   พายุเฮอริเคนระดับ 3 (178–208 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (63–117 กม./ชม.)   พายุเฮอริเคนระดับ 4 (209–251 กม./ชม.)
  พายุเฮอริเคนระดับ 1 (118–153 กม./ชม.)   พายุเฮอริเคนระดับ 5 (≥252 กม./ชม.)
  พายุเฮอริเคนระดับ 2 (154–177 กม./ชม.)

พายุ แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อนหนึ่ง-อี แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 10 – 11 พฤษภาคม
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1007 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.74 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนอะเลตตา แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 6 – 11 มิถุนายน
ความรุนแรง 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) (1 นาที)
943 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.85 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนบัด แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 9 – 15 มิถุนายน
ความรุนแรง 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที)
948 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.99 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนคาร์ลอตตา แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 14 – 19 มิถุนายน
ความรุนแรง 65 ไมล์/ชม. (100 กม./ชม.) (1 นาที)
997 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.44 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแดเนียล แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 24 – 26 มิถุนายน
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1003 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.62 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอมิเลีย แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 27 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
997 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.44 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนฟาบีโอ แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 30 มิถุนายน – 6 กรกฎาคม
ความรุนแรง 110 ไมล์/ชม. (175 กม./ชม.) (1 นาที)
964 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกีลมา แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 – 29 กรกฎาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1006 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.71 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนเก้า-อี แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1007 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.74 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเฮกเตอร์ แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 31 กรกฎาคม – 13 สิงหาคม (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) (1 นาที)
936 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนอิเลียนา แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 4 – 7 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 ไมล์/ชม. (100 กม./ชม.) (1 นาที)
998 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.47 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนจอห์น แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 5 – 10 สิงหาคม
ความรุนแรง 105 ไมล์/ชม. (165 กม./ชม.) (1 นาที)
969 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.61 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนคริสตี แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 7 – 11 สิงหาคม
ความรุนแรง 70 ไมล์/ชม. (110 กม./ชม.) (1 นาที)
991 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.26 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเลน แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 15 – 29 สิงหาคม
ความรุนแรง 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) (1 นาที)
922 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.23 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนมิเรียม แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 สิงหาคม – 2 กันยายน
ความรุนแรง 100 ไมล์/ชม. (155 กม./ชม.) (1 นาที)
974 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.76 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนนอร์มัน แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 28 สิงหาคม – 9 กันยายน
ความรุนแรง 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) (1 นาที)
937 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.67 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนโอลิเวีย แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 1 – 14 กันยายน
ความรุนแรง 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที)
948 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.99 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนพอล แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 8 – 12 กันยายน
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1002 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนสิบเก้า-อี แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 – 20 กันยายน
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1002 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.59 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนโรซา แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 25 กันยายน – 2 ตุลาคม
ความรุนแรง 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) (1 นาที)
940 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.76 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเซร์ฆิโอ แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 29 กันยายน – 12 ตุลาคม
ความรุนแรง 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) (1 นาที)
943 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.85 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนวาลากา แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 29 กันยายน – 6 ตุลาคม
ความรุนแรง 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) (1 นาที)
920 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.17 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนทารา แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 14 – 17 ตุลาคม
ความรุนแรง 65 ไมล์/ชม. (100 กม./ชม.) (1 นาที)
995 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.38 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 11 ตุลาคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ เริ่มติดตามหย่อมความกดอากาศต่ำที่ก่อตัวขึ้นใกล้กับอ่าวเตฮวนเตเปก ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าจะกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อน[2] ความแปรปรวนของสภาพอากาศค่อย ๆ หดตัวและพัฒนาขึ้นเป็นอย่างดีในขณะที่เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ขนานไปกับแนวชายฝั่งของประเทศเม็กซิโก
  • วันที่ 14 ตุลาคม เวลา 15:00 UTC หย่อมความกดอากาศต่ำมีการพัฒนาการหมุนเวียนอย่างเพียงพอที่จะจัดเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน[3]
  • วันที่ 15 ตุลาคม พายุดีเปรสชันได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนและได้รับชื่อ ทารา (Tara) ในเวลา 09:00 UTC[4]

พายุโซนร้อนบิเซนเต แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 14 – 17 ตุลาคม
ความรุนแรง 65 ไมล์/ชม. (100 กม./ชม.) (1 นาที)
995 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.38 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนวิลลา แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 20 – 24 ตุลาคม
ความรุนแรง 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) (1 นาที)
925 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.32 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 14 ตุลาคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติเริ่มติดตามคลื่นกระแสลมฝ่ายตะวันออกในมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ก่อตัวขึ้นเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำทางตะวันตกเฉียงใต้ของทะเลแคริบเบียน[5]

พายุโซนร้อนแซเวียร์ แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 2 – 6 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
999 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.5 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ แก้

รายชื่อต่อไปนี้ ใช้สำหรับการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. 2561 สำหรับการปลดชื่อ ถ้ามีจะได้รับการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิของปี พ.ศ. 2562 ซึ่งชื่อที่ไม่ถูกปลด จะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปีฤดูกาล พ.ศ. 2567[6] รายชื่อชุดนี้เป็นชุดเดียวกันกับที่เคยใช้ไปในฤดูกาล พ.ศ. 2555

  • อะเลตตา
  • บัด
  • คาร์ลอตตา
  • แดเนียล
  • เอมิเลีย
  • ฟาบีโอ
  • กีลมา
  • เฮกเตอร์
  • อิเลียนา
  • จอห์น
  • คริสตี
  • เลน
  • มิเรียม
  • นอร์มัน
  • โอลิเวีย
  • พอล
  • โรซา
  • เซร์ฆิโอ
  • ทารา
  • บิเซนเต
  • วิลลา
  • แซเวียร์
  • โยลันดา (ไม่ถูกใช้)
  • ซี๊ก (ไม่ถูกใช้)

สำหรับพายุที่ก่อตัวภายในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์เฮอริเคนแปซิฟิกกลาง ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างเส้น 140 องศาตะวันตกถึงเส้นแบ่งวันสากล ชื่อที่จะใช้จะเป็นชื่อในชุดหมุนเวียนสี่ชุด[7]

  • วาลากา

ผลกระทบ แก้

ตารางนี้แสดงพายุทั้งหมดที่ก่อตัวในฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2561 ประกอบด้วยชื่อพายุ ระยะเวลา พื้นที่ขึ้นฝั่งได้รับผลกระทบ ความเสียหาย และจำนวนผู้เลียชีวิตทั้งหมด ส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตในวงเล็บคือการเสียชีวิตเพิ่มเติมและการเสียชีวิตโดยทางอ้อม (เช่นการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนน) แต่ยังคงมีความเกี่ยวข้องกับพายุหมุนเขตร้อนอยู่ ความเสียหายและจำนวนผู้เสียชีวิตนั้นจะรวมไปจนถึงขณะที่พายุกลายเป็นพายุหมุนนอกเขตร้อน คลื่นในเขตร้อน หรือ บริเวณความกดอากาศต่ำด้วย ความเสียหายทั้งหมดอยู่ในค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ

สถิติของพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2561
ชื่อ
พายุ
วันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีความรุนแรงสูงสุด
ลมสูงสุด
1-นาที
ไมล์/ชม. (กม./ชม.)
ความกดอากาศ
(มิลลิบาร์)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ความเสียหาย
(ดอลลาร์สหรัฐ)
เสียชีวิต อ้างอิง


หนึ่ง-อี 10 – 11 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 35 (55) 1007 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
อะเลตตา 6 – 11 มิถุนายน พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 (220) 943 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
บัด 9 – 16 มิถุนายน พายุเฮอริเคนระดับ 4 130 (215) 948 เม็กซิโกตะวันตก, รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์, ตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ ไม่ทราบ ไม่มี
คาร์ลอตตา 14 – 19 มิถุนายน พายุโซนร้อน 65 (100) 997 เม็กซิโกตะวันตกเฉียงใต้ ไม่ทราบ ไม่มี
แดเนียล 24 – 26 มิถุนายน พายุโซนร้อน 45 (75) 1003 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เอมิเลีย 27 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 60 (95) 997 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ฟาบีโอ 30 มิถุนายน – 6 กรกฎาคม พายุเฮอริเคนระดับ 2 110 (175) 964 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
กีลมา 26 – 29 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 40 (65) 1006 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เก้า-อี 26 – 27 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 35 (55) 1007 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เฮกเตอร์ 31 กรกฎาคม – 13 สิงหาคม[nb 1] พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 (250) 936 รัฐฮาวาย, จอห์นสตันอะทอลล์ เล็กน้อย ไม่มี
อิเลียนา 4 – 7 สิงหาคม พายุโซนร้อน 65 (100) 998 เม็กซิโกตะวันตก, รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์ ไม่ทราบ 4
จอห์น 5 – 10 สิงหาคม พายุเฮอริเคนระดับ 2 105 (165) 969 เม็กซิโกตะวันตก, รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์, ตอนใต้ของแคลิฟอร์เนีย เล็กน้อย 4
คริสตี 7 – 11 สิงหาคม พายุโซนร้อน 70 (110) 991 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เลน 15 – 29 สิงหาคม พายุเฮอริเคนระดับ 5 160 (260) 922 รัฐฮาวาย ไม่ทราบ 1
มิเรียม 26 สิงหาคม – 2 กันยายน พายุเฮอริเคนระดับ 2 100 (155) 974 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
นอร์มัน 28 สิงหาคม – 9 กันยายน พายุเฮอริเคนระดับ 4 150 (240) 937 รัฐฮาวาย เล็กน้อย ไม่มี
โอลิเวีย 1 – 14 กันยายน พายุเฮอริเคนระดับ 4 130 (215) 948 รัฐฮาวาย ไม่ทราบ ไม่มี
พอล 8 – 12 กันยายน พายุโซนร้อน 45 (75) 1002 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สิบเก้า-อี 19 – 20 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 35 (55) 1002 รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์, เม็กซิโกตะวันตกเฉียงเหนือ &000000004250000000000042.5 ล้าน 8 (2)
โรซา 25 กันยายน – 2 ตุลาคม พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 (230) 940 รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์, เม็กซิโกตะวันเฉียงเหนือ, ตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ >&0000000000530000000000530 พัน 3
เซร์ฆิโอ 29 กันยายน – 12 ตุลาคม พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 (220) 943 คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย, เม็กซิโกตะวันตกเฉียงเหนือ, ตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ, รัฐเท็กซัส &0000000352100000000000352 ล้าน 2
วาลากา  29 กันยายน – 6 ตุลาคม พายุเฮอริเคนระดับ 5 160 (260) 920 จอห์นสตันอะทอลล์, หมู่เกาะฮาวายตะวันตกเฉียงเหนือ, รัฐอะแลสกา, บริติชโคลัมเบีย ไม่ทราบ ไม่มี
ทารา  14 – 17 ตุลาคม พายุโซนร้อน 65 (100) 995 เม็กซิโกตะวันตกเฉียงใต้ ไม่ทราบ ไม่มี
บิเซนเต 19 – 23 ตุลาคม พายุโซนร้อน 50 (85) 1002 ฮอนดูรัส, เอลซัลวาดอร์, กัวเตมาลา, เม็กซิโกตะวันตกเฉียงใต้ &00000000070500000000007.05 ล้าน 16
วิลลา 20 – 24 ตุลาคม พายุเฮอริเคนระดับ 5 160 (260) 925 อเมริกากลาง, เม็กซิโก, รัฐเท็กซัส &000000006260000000000062.6 ล้าน 6
แซเวียร์ 2 – 6 พฤศจิกายน พายุโซนร้อน 60 (95) 999 เม็กซิโกตะวันตกเฉียงใต้ ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
26 ลูก 10 พฤษภาคม –
6 พฤศจิกายน
  160 (260) 920 >&0000000464680000000000465 ล้าน 44 (2)  

ดูเพิ่ม แก้

หมายเหตุ แก้

  1. พายุเฮกเตอร์ไม่ได้สลายตัวในวันที่ 13 สิงหาคม แต่มันข้ามเส้นแบ่งเขตวันสากล กลายเป็นพายุโซนร้อนเฮกเตอร์ และสลายตัวในวันที่ 16 สิงหาคม

อ้างอิง แก้

  1. Dorst Neal. When is hurricane season? (Report). Atlantic Oceanographic and Meteorological Laboratory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 December 2010. สืบค้นเมื่อ 25 November 2010.
  2. Eric S. Blake (October 11, 2018). "NHC Graphical Tropical Weather Outlook Archive". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ October 14, 2018.
  3. Stacy R. Stewart (October 14, 2018). "Tropical Depression Twenty-Two-E Discussion Number 1". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ October 14, 2018.
  4. Daniel P. Brown (October 14, 2018). "Tropical Storm Tara Advisory Number 4". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ October 15, 2018.
  5. Stacy R. Stewart (October 14, 2018). "Two-Day Graphical Tropical Weather Outlook: 2:00 pm EDT, Sun Oct 14 2018". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ October 19, 2018.
  6. "Tropical Cyclone Names". National Hurricane Center. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 November 2018. สืบค้นเมื่อ 27 November 2018.
  7. "Pacific Tropical Cyclone Names 2016-2021". Central Pacific Hurricane Center. 12 May 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PHP)เมื่อ 8 January 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้