รายพระนามพระมหากษัตริย์โครเอเชีย
พระมหากษัตริย์แห่งโครเอเชีย
แก้สถาปนาเมื่อปีค.ศ. 925 โดยพระสันตะปาปาจอห์นที่ 10แต่งตั้ง ดยุดโทมิสลาฟ เป็น Rex Chroatorum - กษัตริย์แห่งโครเอเชีย. ชาวโครเอเชียจึงถือให้พระเจ้าโทมิสลาฟเป็นกษัตริย์พระองค์แรก
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
โทมิสลาฟที่ 1 | 925 | 928 |
| |
ทอร์ปิเมียร์ที่ 2 | 928 | 935 | พระอนุชาหรืออาจเป็นพระราฃโอรสของพระเจ้าโทมิสลาฟ | |
เครซิเมียร์ที่ 1 (Krešimir Stariji) |
935 | 945 | พระราชโอรสในพระเจ้าทอร์ปิเมียร์ที่ 2 | |
มิรอสลาฟ | 945 | 949 | พระราชโอรสในพระเจ้าเครซิเมียร์ที่ 1 | |
ไมเคิล เครซิเมียร์ที่ 2 (Mihovil Krešimir II) และ เฮเลนที่ 1 (Jelena Zadarska) (เสวยราชย์ร่วม) |
949 | 969 | พระราชอนุชาในพระเจ้ามิรอสลาฟ. พระเจ้าไมเคิล เครซิเมียร์ที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์ร่วมกับพระมเหสี พระราชินีนาถเฮเลนที่ 1.หลังจากพระเจ้าไมเคิล เครซิเมียร์ที่ 2 สวรรคตในปีค.ศ. 969 พระราชโอรสของพระองค์ สตีเฟน เดอร์ซิสลาฟ สืบราชสมบัติโดยลำพังทันที, พระราชินีนาถเฮเลนสิ้นพระชนม์หลังจากนนั้น 7 ปี ตรงกับวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 976 รัชกาลนี้, โครเอเชียเสียดินแดนบางส่วนให้บอสเนีย | |
สตีเฟน เดอร์ซิสลาฟ (Stjepan Držislav) |
969 | 997 | พระราชโอรสในพระเจ้าไมเคิล เครสิเมียร์ที่ 2 กับ สมเด็จพระราชินีนาถเอเลนา พระองค์ได้รับ พระองค์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นการยกย่องจากจักรพรรดิไบแซนไทน์และได้รับการสวมมงกุฎจากอาร์ชบิชอปแห่งสปลิตในไบโอกราดใน 988 Thomas the Archdeacon's Historia Salonitana names him as the first King of Croatia (rex), regardless, he is considered the first crowned Croatian King.[1] | |
สเวตอสลาฟ ซูลอนจา | 997 | 1000 | พระราชโอรสในพระเจ้าสตีเฟน เดอร์ซิสลาฟ ต่อมาถูกปลงพระชนม์โดยพระอนุชาทั้ง 2 เครซิเมียร์ที่ 3 กับ กอจสลาฟ | |
เครซิเมียร์ที่ 3 และ กอจสลาฟ (เสวยราชย์ร่วม) |
1000 | 1020 | พระอนุชาในพระเจ้าสเวตอสลาฟ ซูลอนจา | |
เครซิเมียร์ที่ 3 (alone) |
1020 | 1030 | พระอนุชาในพระเจ้าสเวตอสลาฟ ซูลอนจา | |
สตีเฟนที่ 1 (Stjepan I) |
1030 | 1058 | พระราชโอรสในพระเจ้าเครซิเมียร์ที่ 3 | |
เปตาร์ เครซิเมียร์ที่ 4 มหาราช (Petar Krešimir IV Veliki) |
1058 | 1074 | พระราชโอรสในพระเจ้าสตีเฟนที่ 1 รัชกาลนี้โครเอเชียเจริญรุ่งเรืองถึงจุดสูงสุด | |
เดเมเตรอุส ซวอนิเมะยร์ (Dmitar Zvonimir) |
1075 | 1089 | พระญาติในพระเจ้าเปตาร์ เครซิเมียร์ที่ 4 ทรงเษกสมรสกับ เจ้าหญิงเฮเลน, พระราชธิดาใน พระเจ้าเบลาที่ 1แห่งฮังการี | |
สตีเฟนที่ 2 (Stjepan II) |
1089 | ธันวาคม 1090 | พระราชโอรสในเจ้าชายคาสติเมียร์ พระราชอนุชาในพระเจ้าเปตาร์ เครซิเมียร์ที่ 4 | |
เฮเลนที่ 2 (Jelena Lijepa) |
1090 | 1091 | พระชายาในพระเจ้าเดเมเตรอุส ซวอนิเมะยร์ และเป็นพระราชธิดาใน พระเจ้าเบลาที่ 1แห่งฮังการี |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ลาดิสเลาส์ที่ 1 (Ladislav I. Arpadović) |
1091 | 1092 | พระราชโอรสในพระเจ้าเบลาที่ 1แห่งฮังการีและเป็นพระอนุชาในพระราชินีนาถเฮเลนที่ 2 | |
ดยุค อัลมอส (herceg Almoš) |
1091 | 1093 | พระราชภาคิไนยในพระเจ้าลาดิสเลาส์ที่ 1 ,ไม่ได้ทรงปกครองด้วยพระองค์เอง |
ราชวงศ์สวาสิก
แก้พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
เปตาร์ สวาสิก | 1093 | 1097 | ถูกเลือกโดยขุนนางชาวโครเอเชียเพื่อต่อสู้กับฮังการีที่จะผนวกโครเอเชีย สวรรคตในการศึก
หลังสวรรคต กษัตริย์ฮังการีเป็นกษัตริย์โครเอเชียร่วมด้วยเนื่องการรวมมงกุฎทั้ง 2 อาณาจักร |
ภายใต้ฮังการีและจักรวรรดิโรมันอันศักดิสิทธิ์
แก้ตั้งแต่ค.ศ. 1102, กษัตริย์ฮังการีก็ได้สิทธิในการปกครองราชอาณาจักรโครเอเชีย สโลเวเนีย และ ดาลมาเทีย ในการรับรองของขุนนางโครเอเชีย[2][3] โครเอเชียอยู่ภายใต้การดูแลของBan (อุปราช) และ ซาบอร์.
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
โคโลมาน (Koloman) |
1102 | 3 กุมภาพันธ์ 1116 | ยุทธการที่เขากวอทซ์ (modern Petrova Gora). โคโลมาน, ได้การสนับสนุนโดยแพนโนเนีย โครแอต, เอาชนะกองทัพของขุนนางโครเอเชียและดัลเมเทีย พันธมิตรของเปตาร์ ได้รับการรับรองโดยคณะซาบอร์ ขุนนางโครเอเชีย | |
สตีเฟนที่ 3 (Stjepan II.) |
3 กุมภาพันธ์ 1116 | 3 เมษายน 1131 | พระราชโอรสในพระเจ้าโคโลมาน | |
เบลาที่ 1 (Bela II. Slijepi) |
3 เมษายน 1131 | 13 กุมภาพันธ์ 1141 | พระราชนัดดาในพระเจ้าเกซาที่ 1, โอรสอัลมอส, พระอนุชาในพระเจ้าโคโลมาน | |
เกจา (Gejza II.) |
13 กุมภาพันธ์ 1141 | 31 พฤษภาคม 1162 | พระราชโอรสในพระเจ้าเบลาที่ 1 | |
สตีเฟนที่ 2 (Stjepan III.) |
31 พฤษภาคม 1162 | 4 มีนาคม 1172 | พระราชโอรสในพระเจ้าเกจา | |
ลาดิสเลาส์ที่ 2 (Ladislav II.) |
31 พฤษภาคม 1162 | 14 มกราคม 1163 | กษัตริย์ปรปักษ์, พระอนุชาในพระเจ้าเกซาที่ 2 | |
สตีเฟนที่ 5 (Stjepan IV.) |
14 มกราคม 1163 | มิถุนายน 1163 | กษัตริย์ปรปักษ์, พระอนุชาในพระเจ้าเกซาที่ 2 | |
เบลาที่ 2 | 4 มีนาคม 1172 | 13 เมษายน 1196 | พระอนุชาในสตีเฟนที่ 3 | |
อีเมริก (Emerik) |
13 เมษายน 1196 | 30 พฤศจิกายน 1204 | โอรสในเบลาที่ 3 | |
ลาดิสเลาส์ที่ 3 (Ladislav III.) |
30 พฤศจิกายน 1204 | 7 พฤษภาคม 1205 | โอรสอีเมริก, ราชาภิเษกและสวรรคตแต่ทรงพระเยาว์ | |
แอนดรูว์ที่ 1 (Andrija II.) |
7 พฤษภาคม 1205 | 21 กันยายน 1235 | พระอนุชาในอีเมริก, ใน 1222 เขาได้ออกสารตราทองซึ่งกำหนดสิทธิของขุนนางรวมถึงสิทธิที่จะไม่เชื่อฟังกษัตริย์เมื่อกระทำการขัดต่อกฎหมาย (jus resistendi) | |
เบลาที่ 3 | 21 กันยายน 1235 | 3 พฤษภาคม 1270 | โอรสแอนดรูว์ที่ 2, ทรงราชย์ในช่วงที่มองโกลรุกราน (1241–42), ใน 1242 ออกสารตราทองเพื่อสถาปนา ซาเกร็บ และ ซาโมบอร์ เมืองหลวงอิสระ (free and royal city) | |
สตีเฟนที่ 6 (Stjepan V.) |
3 พฤษภาคม 1270 | 6 สิงหาคม 1272 | พระราชโอรสในพระเจ้าเบลาที่ 3 | |
ลาดิสเลาส์ที่ 4 (Ladislav IV. Kumanac) |
6 สิงหาคม 1272 | 10 กรกฎาคม 1290 | โอรสสตีเฟนที่ 5; การรุกรานมองโกลไม่สำเร็จ อาศัยกับชนเผ่าเร่ร่อน | |
แอนดรูว์ที่ 3 (Andrija III. Mlečanin) |
4 สิงหาคม 1290 | 14 มกราคม 1301 | พระราชนัดดาในพระเจ้าแอนดรูว์ที่ 1, ประสูติที่เวนิส; ทายาทพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์อาร์ปัด |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ชาร์ลส์ มาร์แตล (Karlo Martel) |
1290 | 1295 | ถูกเลือกโดยพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 4 และคณะสงฆ์เป็นรัชทายาทของพระมาตุลา พระเจ้าลาดิสเลาส์ที่ 4 มิได้เป็นกษัตริย์ฮังการีร่วมด้วย | |
คาร์ลที่ 1 (Karlo I. Robert) |
14 มกราคม 1301 | 16 กรกฎาคม 1342 | โอรสชาร์ลส์ มาร์แตล, สถาปนาราชวงศ์อันเจวิน | |
หลุยส์ที่ 1 มหาราช (Ludovik I. Veliki) |
16 กรกฎาคม 1342 | 11 กันยายน 1382 | ทรงรับพระอิสริยยศเป็นกษัตริย์โปแลนด์ในค.ศ. 1370 | |
มาเรียที่ 1 (Marija Anžuvinska) |
11 กันยายน 1382 | 17 พฤษภาคม 1395 | อภิเษกสมรสกับพระเจ้าซิกิสมันด์แห่งราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก | |
คาร์ลที่ 2 (Karlo II. Drački) |
31 ธันวาคม 1385 | 24 กุมภาพันธ์ 1386 | เป็นกษัตริย์เนเปิลส์, ปฏิปักษ์กับพระนางมาเรีย สละราชสมบัติเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 1386 และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 ก.พ. ปีเดียวกัน |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ซีกิสมุนด์ที่ 1 (Žigmund Luksemburški) |
31 มีนาคม 1387 | 9 ธันวาคม 1437 | ภายหลังทรงได้รับอิสริยยศเป็นจักรพรรดิเยอรมัน(ตั้งแต่ปี 1410), กษัตริย์โบฮีเมีย (since 1419), จักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิสิทธิ์ (since 1433) |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ลาดิสเลาส์แห่งเนเปิลส์ (Ladislav Napuljski) |
5 สิงหาคม 1403 | 1409 | พระราชโอรสในพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 อ้างสิทธิซึ่งมงกุฎแห่งฮังการีและ โครเอเชียและปฏิปักษ์กับซิกิสมันด์ ต่อมาขายสิทธิให้สาธารณรัฐเวนิส ในราคา 100,000 ดูกาตใน 1409. |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
อัลเบรชที่ 1 | 1 มกราคม 1438 | 27 ตุลาคม 1439 | พระชามาดาในพระเจ้าซิกิสมุนด์, ทรงเป็นทั้งกษัตริย์เยอรมัน, กษัตริย์โบฮีเมีย, ดยุกแห่ง ออสเตรีย |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
วลาดิสลาสที่ 1 (Vladislav I. Jagelović) |
15 พฤษภาคม 1440 | 10 พฤศจิกายน 1444 | ทรงเป็นกษัตริย์โปแลนด์ร่วมด้วย |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ลาดิสลาสที่ 5 โพธูมัส (Ladislav V. Posmrtni) |
10 พฤศจิกายน 1444 | 23 พฤศจิกายน 1457 | ประสูติ ค.ศ. 1440 หลังพระราชบิดาสวรรคต ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่ในที่คุมขัง |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
แม็ทเธียสที่ 1 คอร์วินุส (Matija Korvin) |
24 มกราคม 1458 | 6 เมษายน 1490 | โอรสจอห์น ฮุนยาดี, เป็นกษัตริย์โบฮีเมีย |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
วลาดิสลาสที่ 2 (Vladislav II. Jagelović) |
15 กรกฎาคม 1490 | 13 พฤษภาคม 1516 | เป็นกษัตริย์โบฮีเมีย | |
หลุยส์ที่ 2 (Ludovik II.) |
13 พฤษภาคม 1516 | 29 สิงหาคม 1526 | เป็นกษัตริย์โบฮีเมีย; ถูกปลงพระชนม์ในยุทธการที่โมเฮ็คส์ |
ตำแหน่งกษัตริย์เป็นที่ถกเถียงระหว่างอาชดุ๊กเฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย และ จอห์น ซาโปลยา โดย จอห์น ซาโปลยาได้รับการสนับสนุนจาก สุลต่านออตโตมัน
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
จอห์นที่ 1 (Ivan Zapolja) |
10 พฤศจิกายน 1526 | 22 กรกฎาคม 1540 | อ้างสิทธในราชบัลลังก์, ภายใต้การสนับสนุนของฮังการีและสุลต่านสุไลยมานผู้เกรียงไกร |
ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1527 ในที่ประชุมของ สภาเคทิน ของโครเอเชียได้เลือก เฟอร์ดินานด์ อาชดยุคแห่งออสเตรีย ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ของโครเอเชีย
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
เฟอร์ดินานด์ที่ 1 (Ferdinand Habsburški) |
16 ธันวาคม 1526 | 25 กรกฎาคม 1564 | อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ตามข้อตกลงระหว่างราชวงศ์จากีลลอนและราชวงศ์ฮับส์บูร์ก | |
แม็กซิมิเลียน (Maksimilijan I.) |
8 กันยายน 1563 | 12 ตุลาคม 1576 | ปกครองในช่วงยุทธการที่ ซิเกตวาร์ และกบฏชาวนาโครเอเชีย | |
รูดอล์ฟที่ 1 | 25 กันยายน 1572 | 26 มิถุนายน 1608 | ปกครองระหว่างยุทธการซีซัก สละราชสมบัติให้พระอนุชา | |
แม็ทเธียสที่ 2 (Matija II.) |
26 มิถุนายน 1608 | 20 มีนาคม 1619 | อนุชาพระเจ้ารูดอล์ฟ | |
เฟอร์ดินานด์ที่ 2 | 1 กรกฎาคม 1618 | 15 กุมภาพันธ์ 1637 | ใน 1630 ประกาศ กฎวาลาโครัม ในความโต้แย้งของสภาโครเอเชีย | |
เฟอร์ดินานด์ที่ 3 | 8 ธันวาคม 1625 | 2 เมษายน 1657 | ||
ลีโอโปลด์ที่ 1 | 27 มิถุนายน 1657 | 5 พฤษภาคม 1705 | เลิก แผนซรินสกี-ฟรังโกปัน และล้มล้างสิทธิของสภาโครเอเชียในการเลือกพระมหากษัตริย์ 1669 จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่ซาเกร็บ | |
โจเซฟที่ 1 (Josip I.) |
5 พฤษภาคม 1705 | 11 เมษายน 1711 | ||
คาร์ลที่ 3 (Karlo III.) |
11 เมษายน 1711 | 20 ตุลาคม 1740 | 9 มีนาคม 1712 รัฐสภาโครเอเชียลงมติ การรับรองในทางปฏิบัติ ณ ราชอาณาจักรโครเอเชียเพื่อยอมรับการสืบราชสมบัติของสตรีภายหลังการสิ้นสุดทายาทฝ่ายบุรุษและสนับสนุนพระนางเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโครเอเชีย |
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
มาเรียที่ 2 เทเรซา (Marija Terezija) |
20 ตุลาคม 1740 | 29 พฤศจิกายน 1780 | ผนวกโครเอเชียเป็น županije (นคร) และ ในค.ศ. 1767 จัดตั้งราชบัลลังก์โครเอเชีย (Consilium Regium) ถึงค.ศ. 1779 เมื่อพระนางเลิกทาส พระนางสถาปนากองทัพและปฏิรูปเศรษฐกิจโดยเฉพาะระบบทาสติดที่ดิน | |
โจเซฟที่ 2 (Josip II.) |
29 พฤศจิกายน 1780 | 20 กุมภาพันธ์ 1790 | เลิกระบบทาสติดที่ดิน ทรงแปลงโครเอเชียให้เป็นเยอรมัน | |
ลีโอโปลด์ที่ 2 | 20 กุมภาพันธ์ 1790 | 1 มีนาคม 1792 | ||
ฟรานซ์ (Franjo I.) |
1 มีนาคม 1792 | 6 สิงหาคม 1806 |
ภายใต้จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
แก้พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ฟรานซ์ (Franjo I.) |
6 สิงหาคม 1806 | 2 มีนาคม 1835 | ||
เฟอร์ดินานด์ที่ 5 | 28 มีนาคม 1830 | 2 ธันวาคม 1848 | ประชวรลมบ้าหมู, สละราชสมบัติให้พระราชภาคิไนย, เจ้าชายฟรานซ์ โจเซฟ (โอรสในเจ้าชายฟรานซ์ คาร์ล). สวรรคต ค.ศ. 1875. | |
ฟรานซ์ โจเซฟ (Franjo Josip I.) |
2 ธันวาคม 1848 | 21 พฤศจิกายน 1916 | ||
คาร์ลที่ 4 (Karlo IV.) |
21 พฤศจิกายน 1916 | 16 พฤศจิกายน 1918 | จักรวรรดิออสเตรีย ฮังการีสิ้นสุดในปีค.ศ. 1918, เมื่อพระองค์ "มอบเอกราช" แก่รัฐต่างๆในจักรวรรดิ แต่ยังทรงถือว่าเป็นจักรพรรดิออสเตรียและกษัตริย์ฮังการีอยู่ จนกระทั่งพระองค์สวรรคตลงในปีค.ศ. 1922. |
ภายใต้ยูโกสลาเวีย
แก้ภายนหลัง สงครามโลกครั้งที่ 1 และการล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย ฮังการี, โครเอเชียกลายเป็นส่วนหนึ่งของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บซึ่งปกครองโดยราชวงศ์คาราดอร์เดวิก ใน 1918 ตำแหน่ง "กษัตริย์โครเอเชีย" ใช้ร่วมกับตำแหน่ง"สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งปวงชนชาวเซิร์บ,โครแอทและสโลวีน" ในค.ศ. 1929 ตำแหน่งถูกเปลี่ยนเป็น"สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งยูโกสลาเวีย". ระหว่างค.ศ. 1939 - 1943 โครเอเชียเป็นเขตปกครองตนเองโดนอุปราช (บาโนวินา) ภายใต้ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย, ปกครองโดยพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2, การดูแลภายใต้พระปรมาภิไธยโดย Ban (อุปราช) อีวาน ซูบาสิช ระหว่างนี้, ค.ศ. 1941 โครเอเชียถูกยึดครองโดยฝ่ายอักษะพร้อมกับส่วนที่เหลือของยูโกสลาเวีย
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ปีเตอร์ที่ 1 (Petar I.) |
1 December 1918 | 16 August 1921 | มกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์ ทรงดูแลโครเอเชียแทนพระองค์ในช่วงปลายรัชกาล | |
อเล็กซานเดอร์ที่ 1 (Aleksandar I.) |
16 August 1921 | 9 October 1934 | เปลี่ยนตำแหน่งเป็นกษัตริย์ยูโกสลาเวียใน ค.ศ. 1929ถูกปลงพระชนม์ ใน มาร์เซย์. | |
ปีเตอร์ที่ 2 (Petar II.) |
9 October 1934 | 29 November 1945 | ครองราชสมบัติขณะทรงพระเยาว์. เจ้าชายพอลแห่งยูโกสลาเวีย สำเร็จราชการแทนจนกระทั่งเมษายน ค.ศ. 1941. ทรงลี้ภัยไปยังลอนดอนจนกระทั่งถูกถอดถอนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1945 อีวาน ซูบาสิช ดำรงฐานะอุปราชในแคว้นโครเอเชีย (1939–43) ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐโครเอเชียถูกสืบทอดโดยวลาดิเมียร์ นาโซ, ประธานาธบดีแห่ง ZAVNOH |
รัฐเอกราชโครเอเชีย
แก้1941 - 1945: กองทัพนาซีได้ก่อตั้ง รัฐเอกราชโครเอเชีย ขึ้นเป็นรัฐหุ่นเชิด โดยดินแดนนี้เป็นดินแดนที่ฝ่ายอักษะยึดจากยูโกสลาเวียได้ และถูกปกครองโดย ขบวนการปฏิวัติโครเอเชียอุสตาซา นำโดย อันเท ปาเวลิช. ในเดือนพฤษภาคม 1941 ได้มีการจัดตั้งเป็นราชอาณาจักร (ภายใต้ข้อตกลงระหว่างอันเต ปาเวลิช และ เบนิโต มุสโสลินี). แล้วเชิญ เจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา ครองราชย์โดยใช้พระนามว่า "สมเด็จพระราชาธิบดีโทมิสลาฟที่ 2 แห่งโครเอเชีย" แต่พระองค์ก็ไม่เคยได้ปกครองโครเอเชียเลย และในที่สุด ก็ทรงถูกรัฐบาลอิตาลีบังคับให้ลงพระปรมาภิไธยสละราชสมบัติในปีค.ศ. 1943
ราชวงศ์ซาวอย-เอออสต้า
แก้พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
โทมิสลาฟที่ 2 | 18 พฤษภาคม 1941 | 31 กรกฎาคม 1943 |
ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์โครเอเชีย
แก้ราชสกุลฮับส์บูร์ก-ลอร์เรน ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์โครเอเชีย
แก้รูป | ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ | เริ่มอ้างสิทธิ์ | พ้นจากการอ้างสิทธิ์ |
คาร์ลที่ 4
(Karlo IV.) |
16 พฤศจิกายน 1918 | 1 เมษายน 1922 | |
ออตโต | 1 เมษายน 1922 | 4 กรกฎาคม 2011 | |
คาร์ลที่ 5
(Karlo V.) |
4 กรกฎาคม 2011 | ปัจจุบัน |
ราชวงศ์คาราดอร์เดวิก ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์ยูโกสลาเวีย
แก้รูป | ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ | เริ่มอ้างสิทธิ์ | พ้นจากการอ้างสิทธิ์ |
ปีเตอร์ที่ 2
(Petar II.) |
29 พฤศจิกายน 1945 | 30 พฤศจิกายน 1970 | |
อเล็กซานเดอร์ที่ 2
(Aleksandar II.) |
30 พฤศจิกายน 1970 | ปัจจุบัน |
ราชวงศ์ซาวอย-เอออสตา ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์แห่งรัฐเอกราชโครเอเชีย
แก้รูป | ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ | เริ่มอ้างสิทธิ์ | พ้นจากการอ้างสิทธิ์ |
โทมิสลาฟที่ 2 | 31 กรกฎาคม 1943 | 29 มกราคม 1948 | |
ซวอนีเมียร์ที่ 2 | 29 มกราคม 1948 | 1 มิถุนายน 2021 | |
ไอโมน | 1 มิถุนายน 2021 | ปัจจุบัน |
อ้างอิง
แก้- ↑ Thomas the Archdeacon: Historia Salonitana, caput 13.
- ↑ Catholic Encyclopedia
- ↑ [1]