รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
ด้านล่างนี้คือ รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม
สมเด็จพระจักรพรรดิ แห่งจักรวรรดิเวียดนาม | |
---|---|
ราชาธิปไตยในอดีต | |
สมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งเวียดนามองค์สุดท้าย | |
| |
ปฐมกษัตริย์ | จักรพรรดิเล นาม ตี้ (ดำรงพระอิสริยยศเป็น จักรพรรดิแห่งนามเวียต) |
องค์สุดท้าย | สมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (ดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งเวียดนาม) |
สถานพำนัก | พระราชวังหลวงแห่งเว้, เว้ จักรวรรดิเวียดนาม |
เริ่มระบอบ | พ.ศ. 1084 (ค.ศ. 541) |
สิ้นสุดระบอบ | 25 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) |
ผู้อ้างสิทธิ์ | เจ้าชายบ๋าว ทั้ง |
ราชวงศ์เจี่ยว (207 ปีก่อนคริสตกาล – 111 ปีก่อนคริสตกาล)
แก้ยังคงเป็นที่ถกเถียงเกี่ยวกับที่มาของราชวงศ์เจี่ยว (ภาษาจีนออกเสียงว่าราชวงศ์เจ้า) นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จัดให้ราชวงศ์เจี่ยวเป็นราชวงศ์ของชาวเวียดนาม แต่บ้างส่วนก็อ้างว่าราชวงศ์นี้เป็นราชวงศ์ของชาวจีน
กษัตริย์ | พระนามเดิม | รัชกาล |
---|---|---|
เจี่ยว หวู เด๊ / เจ้าอู่ตี้ Triệu Vũ Đế / Zhào Wǔdì |
เจี่ยว ด่า / เจ้า ถัว Triệu Đà / Zhào Tuó |
207 ปีก่อนคริสตกาล – 137 ปีก่อนคริสตกาล |
เจี่ยว วัน เด๊ / เจ้าเหวินตี้ Triệu Văn Đế / Zhào Wén Dì |
เจี่ยว โห่ / เจ้า หู Triệu Hồ / Zhào Hú |
137 ปีก่อนคริสตกาล – 125 ปีก่อนคริสตกาล |
เจี่ยว มิญ เวือง / เจ้าหมิงหวาง Triệu Minh Vương / Zhào Míng Wáng |
เจี่ยว อัญ เต้ / เจ้า อิงฉี Triệu Anh Tề / Zhào Yīngqí |
125 ปีก่อนคริสตกาล – 113 ปีก่อนคริสตกาล |
เจี่ยว อาย เวือง / เจ้าอายหวาง Triệu Ai Vương / Zhào Āi Wáng |
เจี่ยว ฮึง / เจ้า ซิง Triệu Hưng / Zhào Xīng |
113 ปีก่อนคริสตกาล – 112 ปีก่อนคริสตกาล |
เจี่ยว เหว่ เยือง เวือง / เจ้าเว่ยหยางหวาง Triệu Vệ Dương Vương / Zhào Wèi Yáng Wáng |
เจี่ยว เกี๊ยน ดึ๊ก / เจ้า เจี้ยนเต๋อ Triệu Kiến Đức / Zhào Jiàndé |
112 ปีก่อนคริสตกาล – 111 ปีก่อนคริสตกาล |
ภายใต้จักรวรรดิจีน
แก้พี่น้องเจือง (40 - 43)
แก้พระราชินี | พระนาม | รัชกาล |
---|---|---|
พระนางเจือง | เจือง จั้ก Trưng Trắc |
40–43 |
กบฏตระกูลไหม่ (713–723)
แก้กษัตริย์ | พระนาม | รัชกาล |
---|---|---|
ไหม่ ฮัก เด๋ (梅黑帝) | ไหม่ ทุก ลวน (梅叔鸞) | 713–723 |
ไหม่ เถี่ยว เด๋ (梅少帝) | ไหม่ ทุก หวี (梅叔輝) | 722–723 |
ไหม่ บัก เด่า เด๋ (梅白頭帝) | ไหม่ กี เซิน (梅奇山) | 723 -724 |
กบฏตระกูลฝุ่ง (779–791)
แก้กษัตริย์ | พระนาม | รัชกาล |
---|---|---|
โบ ข่าย ด่าย เวือง (布蓋大王) | ฝุ่ง ฮึง (馮興) | 779–791 |
ฝุ่ง อาน (馮安) | ฝุ่ง อาน (馮安) | 791–791 |
ราชวงศ์โง
แก้ลำดับ | รายนาม | พระนามเดิม | ครองราชย์ | หมายเหตุ |
1 | พระเจ้าเตี่ยน โง เวือง (Tiền Ngô Vương) |
โง เกวี่ยน (Ngô Quyền) |
ค.ศ. 939 – ค.ศ. 944 | |
2 | พระเจ้าเยือง บิ่ญ เวือง (Dương Bình Vương) |
เยือง ตาม คา (Dương Tam Kha) |
ค.ศ. 944 – ค.ศ. 950 | |
3 | พระเจ้าเทียน ซั่ก เวือง (Thiên Sách Vương) |
โง เซือง เหงิป (Ngô Xương Ngập) |
ค.ศ. 951– ค.ศ. 954 | |
4 | พระเจ้านาม เติ๊น เวือง (Nam Tấn Vương) |
โง เซือง วัน (Ngô Xương Văn) |
ค.ศ. 950 – ค.ศ. 965 | |
5 | พระเจ้าโง ซื้อ เกวิน (Ngô Sứ Quân) |
โง เซือง ซี้ (Ngô Xương Xí) |
ค.ศ. 965 – ค.ศ. 968 |
ราชวงศ์ดิญ
แก้ลำดับ | รายนาม | พระนามเดิม | ครองราชย์ | หมายเหตุ |
1 | สมเด็จพระจักรพรรดิดิญ เตียน ฮหว่าง (Đinh Tiên Hoàng) |
ดิญ โบะ ลิญ (Đinh Bộ Lĩnh) |
ค.ศ. 968 – ค.ศ. 979 | |
2 | สมเด็จพระจักรพรรดิดิญ เฟ้ เด๊ (Đinh Phế Đế) |
ดิญ ตว่าน (Đinh Toàn) |
ค.ศ. 979 – ค.ศ. 980 |
ราชวงศ์เล
แก้รูป | พระนาม | รัชกาล |
สมเด็จพระจักรพรรดิเล ดั่ย หั่ญ | ค.ศ. 980– ค.ศ. 1005 | |
สมเด็จพระจักรพรรดิเล ตรุง ตง | ค.ศ. 1005– ค.ศ. 1005 | |
สมเด็จพระจักรพรรดิเล ว่าง ตร๊าว | ค.ศ. 1005– ค.ศ. 1009 |
ราชวงศ์ลี้
แก้ราชวงศ์เจิ่น
แก้ราชวงศ์โห่
แก้รูป | พระนาม | รัชกาล |
สมเด็จพระจักรพรรดิโห่ กวี๊ ลี | ค.ศ. 1400– ค.ศ. 1401 | |
สมเด็จพระจักรพรรดิโห่ ฮ้าน เทือง | ค.ศ. 1401– ค.ศ. 1407 |
ราชวงศ์เจิ่น
แก้รูป | พระนาม | รัชกาล |
สมเด็จพระจักรพรรดิสาน ดิ่ญ เด๊ | ค.ศ. 1407– ค.ศ. 1409 | |
สมเด็จพระจักรพรรดิจุ่ง กวาง เด๊ | ค.ศ. 1409– ค.ศ. 1414 |
ภายใต้จีน
แก้รูป | พระนาม | รัชกาล |
เจิ่น ก๋าว | ค.ศ. 1426– ค.ศ. 1428 |
ราชวงศ์เหิ่วเล
แก้ราชวงศ์หมัก (เหนือ)
แก้ราชวงศ์เล (ใต้)
แก้ยุคขุนศึก
แก้ตระกูนจิ่นห์
แก้รูป | พระนาม | รัชกาล |
จิ่นห์ เกี่ยม | ค.ศ. 1545 – 1570 | |
จิ่นห์ ตุ่ง | ค.ศ. 1570 – 1623 | |
จิ่นห์ ต๋าง | ค.ศ. 1623 – 1652 | |
จิ่นห์ ตัก | ค.ศ. 1653 – 1682 | |
จิ่นห์ กั่น | ค.ศ. 1682 – 1709 | |
จิ่น เกือง | ค.ศ. 1709 – 1729 | |
จิ่นห์ เกียง | ค.ศ. 1729 – 1740 | |
จิ่นห์ ซอน | ค.ศ. 1740 – 1767 | |
จิ่นห์ ซัม | ค.ศ. 1767 – 1782 | |
จิ่นห์ ก๋าน | ค.ศ. 1782 – 1782 | |
จิ่นห์ ก๋าย | ค.ศ. 1782 – 1786 | |
จิ่นห์ บ่ง | ค.ศ. 1786 – 1787 |
ตระกูลเหงียน
แก้รูป | พระนาม | รัชกาล |
เหงียน หว่าง | ค.ศ. 1558 – 1613 | |
เหงียน ฟุก เหงียน | ค.ศ. 1613 – 1635 | |
เหงียน ฟุก ลาน | ค.ศ. 1635 – 1648 | |
เหงียน ฟุก เถิ่น | ค.ศ. 1648 – 1687 | |
เหงียน ฟุก เจิ่น | ค.ศ. 1687 – 1691 | |
เหงียน ฟุก ชู | ค.ศ. 1691 – 1725 | |
เหงียน ฟุก จู | ค.ศ. 1725 – 1738 | |
เหงียน ฟุก โกท | ค.ศ. 1738 – 1765 | |
เหงียน ฟุก เตริ่น | ค.ศ. 1765 – 1777 | |
เหงียน ฟุก เดือง | ค.ศ. 1777 – 1778 | |
เหงียน ฟุก อันห์ | ค.ศ. 1777 – 1802 |
ราชวงศ์เต็ยเซิน
แก้รูป | พระนาม | รัชกาล |
สมเด็จพระจักรพรรดิเหงียน หญัก | ค.ศ. 1778 – 1793 | |
สมเด็จพระจักรพรรดิเหงียน ฮเหวะ | ค.ศ. 1788 – 1792 | |
สมเด็จพระจักรพรรดิเหงียน กวาง ตว๋าน | ค.ศ. 1792 – 1802 |
ราชวงศ์เหวียน
แก้ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn: ค.ศ. 1802-1945) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของจักรวรรดิราชวงศ์เหวียน ก่อนถูกผนวกเข้าอินโดจีนของฝรั่งเศส
พระบรมฉายาลักษณ์ | พระนามแต่งตั้ง | พระนามเรียกขาน (อักษรจีน– อักษรโรมัน) |
พระนามเดิม | ความสัมพันธ์กับรัชกาลก่อน | พระชนม์ชีพ (ค.ศ.) | รัชศก (ค.ศ.) | การสิ้นสุดรัชกาล | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เท้ โต๋ 世祖 Thế Tổ |
กาว ฮหว่าง เด๊ 高皇帝 Cao hoàng đế |
เหงียน ฟุก อั๊ญ 阮福映 Nguyễn Phước Ánh |
ขุนศึกเหงียน | 1762 – 1820 | ยา ล็อง 嘉隆 1802 – 1820 |
สวรรคต | ทรงรวบรวมประเทศได้และก่อตั้งราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามและเป็นผู้ตั้งชื่อประเทศว่าเวียดนาม | |
ทั้ญ โต๋ 聖祖 Thánh Tổ |
เญิน ฮหว่าง เด๊ 仁皇帝 Nhơn hoàng đế |
เหงียน ฟุก เกี๋ยว 阮福晈 Nguyễn Phước Kiểu |
พระราชโอรส | 1791 – 1841 | มิญ หมั่ง 明命 1820 – 1841 |
สวรรคต | รวมอาณาจักรจามปาได้และเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นดั่ยนาม | |
เฮี้ยน โต๋ 憲祖 Hiến Tổ |
เจือง ฮหว่าง เด๊ 章皇帝 Chương Hoàng Đế |
เหงียน ฟุก เตวี่ยน 阮福暶 Nguyễn Phước Tuyền |
พระราชโอรส | 1807 – 1847 | เถี่ยว จิ 紹治 1841 – 1847 |
สวรรคต | ||
ดึ๊ก ตง 翼宗 Dực Tông |
อัญ ฮหว่าง เด๊ 英皇帝 Anh hoàng đế |
เหงียน ฟุก ถี่ 阮福時 Nguyễn Phước Thì |
พระราชโอรส | 1829 – 1883 | ตึ ดึ๊ก 嗣德 1847 – 1883 |
สวรรคต | เผชิญหน้ากับฝรั่งเศสและต้องยกโคชินไชนาให้กับฝรั่งเศส | |
กุง ตง 恭宗 Cung Tông |
ฮเหวะ ฮหว่าง เด๊ 惠皇帝 Huệ hoàng đế |
เหงียน ฟุก อึง เจิน 阮福膺禛 Nguyễn Phước Ưng Chân |
พระราชภาติยะ[1] | 1852 – 1883 | หยุก ดึ๊ก 育德 1883 |
ถูกบังคับสละราชสมบัติ | เป็นจักรพรรดิได้เพียงสามวัน | |
เหงียน ฟุก ทัง 阮福昇 Nguyễn Phước Thăng |
พระปิตุลา (พระราชโอรสของจักรพรรดิเทียวจิ) | 1847 – 1883 | เหียป ฮหว่า 協和 1883 |
กระทำอัตวินิบาตกรรม; สวรรคต | เสียเอกราชให้แก่ฝรั่งเศสในรัชกาลนี้ หลังจากเกิดการลงนามในสนธิสัญญาเมืองเว้ (ค.ศ. 1883) | |||
สาน ตง 簡宗 Giản Tông |
หงิ ฮหว่าง เด๊ 毅皇帝 Nghị hoàng đế |
เหงียน ฟุก เหา 阮福昊 Nguyễn Phước Hạo |
พระภาติยะ(พระโอรสของพระเชษฐาของจักรพรรดิเหียป ฮหว่า) | 1869 – 1884 | เกี๊ยน ฟุก 建福 1883 – 1884 |
ถูกลอบปลงพระชนม์; สวรรคต | เป็นจักรพรรดิที่ครองราชย์เพียงแค่ 4 เดือนท่ามกลางความวุ่นวายสับสน | |
เหงียน ฟุก มิญ 阮福明 Nguyễn Phước Minh |
พระเชษฐา | 1872 – 1943 | ห่าม งี 咸宜 1884 – 1885 |
ถูกบังคับสละราชสมบัติ | ถูกขับออกจากราชสมบัติเพราะความล้มเหลวของอุบายประตูตะวันตกและพยายามก่อกบฏอีกแต่ถูกจับกุมในปี 1888 และถูกเนรเทศไปยังแอลจีเรีย | |||
กั๋ญ ตง 景宗 Cảnh Tông |
ถ่วน ฮหว่าง เด๊ 純皇帝 Thuần Hoàng Đế |
เหงียน ฟุก เบี่ยน 阮福昪 Nguyễn Phước Biện |
พระเชษฐา | 1864 – 1889 | ด่ง คั้ญ 同慶 1885 – 1889 |
สวรรคต | นิยมตะวันตก | |
เหงียน ฟุก เจียว 阮福昭 Nguyễn Phúc Chiêu |
พระญาติ (พระราชโอรสของจักรพรรดิหยุก ดึ๊ก) | 1879 – 1954 | ถั่ญ ท้าย 成泰 1889 – 1907 |
ถูกบังคับสละราชสมบัติ | ||||
เหงียน ฟุก ฮหวาง 阮福晃 Nguyễn Phước Hoảng |
พระราชโอรส | 1900 – 1945 | ซวี เติน 維新 1907 – 1916 |
ถูกบังคับสละราชสมบัติ | ||||
ฮหวั่ง ตง 弘宗 Hoằng Tông |
เตวียน ฮหว่าง เด๊ 宣皇帝 Tuyên Hoàng Đế |
เหงียน ฟุก ต๊วน 阮福晙 Nguyễn Phước Tuấn |
พระญาติ (พระราชโอรสของจักรพรรดิด่ง คั้ญ) | 1885 – 1925 | ขาย ดิ่ญ 啟定 1916 – 1925 |
เสด็จสวรรคต | มีความสัมพันธ์อันดีกับฝรั่งเศสและเป็นหุ่นเชิดทางการเมืองให้ฝรั่งเศส พระองค์ไม่เป็นที่นิยมของประชาชนเวียดนาม ผู้นำชาตินิยมกล่าวหาพระองค์ว่าขายชาติให้กับฝรั่งเศสและใช้ชีวิตอย่างหรูหราขณะที่ประชาชนถูกฝรั่งเศสกดขี่ | |
เหงียน ฟุก เทียน 阮福晪 Nguyễn Phước Thiển² |
พระราชโอรส | 1913 – 1997 | บ๋าวดั่ย 保大 1926 – 1945 |
ถูกบังคับสละราชสมบัติ | ทรงสถาปนาจักรวรรดิเวียดนามในขณะที่ญี่ปุ่นยึดครองอินโดจีนในสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาได้ทรงสละราชสมบัติและมอบอำนาจให้โฮจิมินห์ อันเป็นจุดจบของระบอบราชาธิปไตยของเวียดนาม แม้ว่าภายหลังได้ถูกถอดถอนจากฐานะพระประมุขของรัฐของรัฐเวียดนามแล้ว พระองค์ก็ยังไม่เป็นที่นิยมของประชาชนเวียดนาม เพราะถูกมองว่าเป็นหุ่นเชิดของฝรั่งเศส |