รายชื่อการแสดงช่วงพักครึ่งซูเปอร์โบวล์

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

การแสดงช่วงพักครึ่งเป็นประเพณีระหว่างการแข่งขันอเมริกันฟุตบอลในทุกระดับของการแข่งขัน การแสดงความบันเทิงในช่วงซูเปอร์โบวล์ซึ่งเป็นการแข่งขันชิงแชมป์ประจำปีของเนชันแนลฟุตบอลลีก (NFL) การแสดงเพื่อเชื่อมโยงวัฒนธรรมประชานิยมซึ่งดึงดูดความสนใจของผู้ชมโทรทัศน์และทั่วประเทศได้กว้างขึ้น การแสดงช่วงพักครึ่งของซูเปอร์โบว์ลเป็นการแสดงที่ถูกจับตามองมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา

เคที เพร์รีกำลังแสดงระหว่างการการแสดงช่วงพักครึ่งในซูเปอร์โบวล์ครั้งที่ 49 ที่สนามกีฬามหาวิทยาลัยฟีนิกซ์ในเดือนกุมภาพันธ์ 2015 เป็นการแสดงช่วงพักครึ่งที่มีผู้ชมมากที่สุดในการออกอากาศทางเครือข่าย โดยมีผู้ชมทีวี 118.5 ล้านคน[1]

ก่อนช่วงต้นทศวรรษ 1990 การแสดงช่วงพักครึ่งมีวงดนตรีโยธวาทิตของมหาวิทยาลัย (วงโยธวาทิตของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐแกรมบลิง ได้แสดงที่งานแสดงช่วงพักครึ่งซูเปอร์โบวล์มากที่สุด โดยมีการแสดงหกรายการ รวมถึงอย่างน้อยหนึ่งรายการต่อทศวรรษ จากทศวรรษที่ 1960 ถึง 1990) ทีมฝึกซ้อม และการแสดงชุดอื่น ๆ เช่น Up with People ในยุค 90 การแสดงช่วงพักครึ่งเริ่มมีนักดนตรีชื่อดังมากมาย เริ่มในปี 1991 โดยมีนิวคิดส์ออนเดอะบล็อก ในความพยายามที่จะเพิ่มความโดดเด่นของการแสดงช่วงพักครึ่งเพื่อเพิ่มความสนใจของผู้ชม และในซูเปอร์โบวล์ครั้งที่ 27ได้นำเสนอการการแสดงช่วงพักครึ่งโดยไมเคิล แจ็กสัน

ประวัติ

แก้

ต่อไปนี้เป็นรายการนักแสดงผู้ผลิตธีมและผู้สนับสนุนสำหรับการแสดงช่วงพักครึ่งของซูเปอร์โบว์ล

ซูเปอร์โบวล์ วันที่ สถานที่ ธีม แสดงโดย โปรดิวเซอร์ รายการเพลง Ref.
I 15 มกราคม 1967 โคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส
(ลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย)
ทอมมี วอล์กเกอร์
(The University of Arizona Symphonic Marching Band)
[3][4][5]
II 14 มกราคม 1968 ไมแอมีออเรนจ์โบวล์
(ไมแอมี ฟลอริดา)
วงโยธวาทิตของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐแกรมบลิง [3]
III 12 มกราคม 1969 ไมแอมีออเรนจ์โบวล์
(ไมแอมี ฟลอริดา)
ขอบคุณอเมริกา
  • วงดนตรีมหาวิทยาลัยฟลอริดา เอแอนด์เอ็ม
  • วงดนตรีโรงเรียนมัธยมในไมอามี่
[3]
ซูเปอร์โบวล์ วันที่ สถานที่ ธีม แสดงโดย โปรดิวเซอร์ ผู้สนับสนุน รายการเพลง Ref.
IV 11 มกราคม 1970 สนามกีฬาทูเลน
(นิวออร์ลีนส์ ลุยเซียนา)
อภินันทนาการแก่ มาร์ดิกรา [3]
V
(การแสดง)
17 มกราคม 1971 ไมแอมีออเรนจ์โบวล์
(ไมแอมี ฟลอริดา)
วงดนตรีเดินขบวนของรัฐเซาต์อีสต์มิสซูรีตะวันออกเฉียงใต้ [3][6]
VI 16 มกราคม 1972 สนามกีฬาทูเลน
(นิวออร์ลีนส์ ลุยเซียนา
สดุดี หลุยส์ อาร์มสตรอง จิม สกินเนอร์
[3][7]
VII 14 มกราคม 1973 โคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส
(ลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย)
ความสุขคือ ทอมมี วอล์กเกอร์
(บางส่วน)
[3][8][9]
VIII 13 มกราคม 1974 สนามกีฬาไรซ์
(ฮิวสตัน เท็กซัส)
อะมิวสิคัลอเมริกา จิม สกินเนอร์ [3]
IX 12 มกราคม 1975 สนามกีฬาทูเลน
(นิวออร์ลีนส์ ลุยเซียนา)
สรรเสริญแด่ ดุค เอลลิงตัน Mercer Ellington & Grambling State University Marching Bands จิม สกินเนอร์ [3][5]
X
(การแสดง)
18 มกราคม 1976 ไมแอมีออเรนจ์โบวล์
(ไมแอมี ฟลอริดา)
200 Years and Just a Baby: สองร้อยปีของสหรัฐอเมริกา Up with People [3][11]
XI 9 มกราคม 1977 โรสโบวล์
(แพซาดีนา แคลิฟอร์เนีย)
อิตส์อะสมอลล์เวิลด์ Los Angeles Unified All-City Band with the New Mouseketeers & Audience card stunt เดอะวอลต์ดิสนีย์ [3]
XII 15 มกราคม 1978 ลุยเซียนาซูเปอร์โดม
(นิวออร์ลีนส์, ลุยเซียนา)
จากปารีสสู่ปารีสแห่งอเมริกา
[3]
XIII [21 มกราคม 1979 ไมแอมีออเรนจ์โบวล์
(ไมแอมี ฟลอริดา)
ทักทายคาริบเบียน
Bob Jani Carnival [3]
ซูเปอร์โบวล์ วันที่ สถานที่ ธีม แสดงโดย โปรดิวเซอร์ ผู้สนับสนุน รายการเพลง Ref.
XIV
(การแสดง)
20 มกราคม 1980 โรสโบวล์
(แพซาดีนา แคลิฟอร์เนีย)
รำลึกถึงยุค บิกแบนด์ [3][11]
XV 25 มกราคม 1981 ลุยเซียนาซูเปอร์โดม
(นิวออร์ลีนส์, ลุยเซียนา)
เทศกาลมาร์ดิกรา Jim Skinner [3]
XVI
(การแสดง)
24 มกราคม 1982 พอนทิแอค ซิลเวอร์โดม
(พอนทิแอก

มิชิแกน)

สดุดียุค 1960s และโมทาวน์ Up with People

[14]

[3][11]
XVII 30 มกราคม 1983 โรสโบวล์
(แพซาดีนา แคลิฟอร์เนีย)
KaleidoSUPERscope Los Angeles Super Drill Team Bob Jani [3]
XVIII 22 มกราคม 1984 สนามกีฬาแทมปา
(แทมปา ฟลอริดา)
สดุดีซุปตาร์แห่งจอเงิน มหาวิทยาลัยฟลอริดา และมหาวิทยาลัยฟลอริดาสเตต วงเดินแถว เดอะวอลต์ดิสนีย์ [3]
XIX 20 มกราคม 1985 สนามกีฬาสแตนฟอร์ด
(สแตนฟอร์ด แคลิฟอร์เนีย)
โลกแห่งความฝันของเด็ก Tops in Blue Air Force Entertainment [3]
XX
(การแสดง)
26 มกราคม 1986 ลุยเซียนาซูเปอร์โดม
(นิวออร์ลีนส์ ลุยเซียนา)
จังหวะแห่งอนาคต Up with People [3][11]
XXI 25 มกราคม 1987 โรสโบวล์
(แพซาดีนา แคลิฟอร์เนีย)
ร่วมแสดงความยินดีในวันครบรอบ 100 ปีของฮอลลีวูด – โลกแห่งการสร้างความเชื่อ
เดอะวอลต์ดิสนีย์ [3]
XXII 31 มกราคม 1988 สนามกีฬาแจ็ก มอร์ฟี
(แซนดีเอโก แคลิฟอร์เนีย)
บางสิ่งบางอย่างที่ยิ่งใหญ่
Radio City Music Hall [3][4]
XXIII
(การแสดง)
22 มกราคม 1989 สนามกีฬาโจ ร็อบบี้
(ไมแอมีการ์เดนส์ ฟลอริดา)
ร็อกแอนด์โรลปี1950 (Be Bop Bamboozled in 3-D)
  • MagicCom Entertainment
  • Dan Witkowski
Diet Coke [3][15]
ซูเปอร์โบวล์ วันที่ สถานที่ ธีม แสดงโดย โปรดิวเซอร์ ผู้สนับสนุน รายการเพลง Ref.
XXIV 28 มกราคม 1990 ลุยเซียนาซูเปอร์โดม
(นิวออร์ลีนส์ ลุยเซียนา)
แสดงความยินดีกับเมืองนิวออร์ลีนส์และวันครบรอบ 40 ปีของถั่วลิสง Select Productions
XXV 27 มกราคม 1991 สนามกีฬาแทมปา
(แทมปา ฟลอริดา)
สมอลล์เวิลด์ เฉลิมฉลอง 25 ปีของซุปเปอร์โบวล์ เดอะวอลต์ดิสนีย์

[a]

[3]
XXVI 26 มกราคม 1992 ฮิวเบิร์ต เอช ฮัมฟรีย์ เมโทรโดม
(มินนีแอโพลิส มินนิโซตา)
วินเทอร์แมจิก รำลึกถึง โอลิมปิกฤดูหนาว 1992 Timberline Productions

[b]

[3]
XXVII
(การแสดง)
31 มกราคม 1993 โรสโบวล์
(แพซาดีนา แคลิฟอร์เนีย)
ไมเคิล แจ็กสัน

[c]

[3][4]
XXVIII 30 มกราคม 1994 จอร์เจียโดม
(แอตแลนตา จอร์เจีย)
Rockin' Country Sunday Select Productions

[d]

[3]
XXIX 29 มกราคม 1995 สนามกีฬาโจ ร็อบบี้
(ไมแอมีการ์เดนส์ ฟลอริดา)
อินเดียนา โจนส์ กับวิหารตาต้องห้าม เดอะวอลต์ดิสนีย์
[3]
XXX
(การแสดง)
28 มกราคม 1996 สนามกีฬาซันเดวิล
(เทมพี แอริโซนา)
Take Me Higher: ฉลอง 30 ปีซูเปอร์โบวล์ ไดอานา รอสส์ Radio City Music Hall Oscar Mayer [3][4]
XXXI
(การแสดง)
26 มกราคม 1997 ลุยเซียนาซูเปอร์โดม
(นิวออร์ลีนส์ ลุยเซียนา)
Blues Brothers Bash Oscar Mayer
[3]
XXXII 25 มกราคม 1998 สนามกีฬาควอลคอมม์
(แซนดีเอโก แคลิฟอร์เนีย)
สดุดีการครบรอบ 40 ปีของโมทาวน์ Radio City Music Hall
[3][4][5][17]
XXXIII 31 มกราคม 1999 สนามกีฬาโปรเพลเยอร์
(ไมแอมีการ์เดนส์ ฟลอริดา)
เฉลิมฉลองของโซล, ซัลซา และสวิง Radio City Music Hall Progressive Auto Insurance
[3]
ซูเปอร์โบวล์ วันที่ สถานที่ ธีม แสดงโดย แขกรับเชิญพิเศษ โปรดิวเซอร์ ผู้สนับสนุน รายการเพลง Ref.
XXXIV 30 มกราคม 2000 จอร์เจียโดม
(แอตแลนตา จอร์เจีย)
พรมแห่งชาติ ดิสนีย์ E-Trade
[3][18]
XXXV
(การแสดง)
28 มกราคม 2001 สนามกีฬาเรย์มอนด์ เจมส์
(แทมปา ฟลอริดา)
ราชาแห่งร็อกและป็อป เอ็มทีวี E-Trade
[3][4]
XXXVI
(การแสดง)
3 กุมภาพันธ์ 2002 ลุยเซียนาซูเปอร์โดม
(นิวออร์ลีนส์ ลุยเซียนา)
ไว้อาลัยแก่ผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน ยูทู Clear Channel Entertainment E-Trade [3][4]
XXXVII
(การแสดง)
26 มกราคม 2003]] สนามกีฬาควอลคอมม์
(แซนดีเอโก แคลิฟอร์เนีย)
สติง AT&T Wireless
[3]
XXXVIII
(การแสดง)
1 กุมภาพันธ์ 2004 สนามกีฬาเรลไลนต์
(ฮิวสตัน เท็กซัส)
Choose or Lose Spirit of Houston and Ocean of Soul marching bands เอ็มทีวี เอโอแอล TopSpeed
[19][20]
[3][4]
XXXIX 6 กุมภาพันธ์ 2005 สนามกีฬาออลเทล
(แจ็กสันวิลล์ ฟลอริดา)
พอล แม็กคาร์ตนีย์ Don Mischer Productions Ameriquest Mortgage [3]
XL 5 กุมภาพันธ์ 2006 ฟอร์ดฟิลด์
(ดีทรอยต์ มิชิแกน)
เดอะโรลลิงสโตนส์ Don Mischer Productions Sprint Nextel [3][4]
XLI
(การแสดง)
4 กุมภาพันธ์ 2007 สนามกีฬาดอลฟิน
(ไมแอมีการ์เดนส์ ฟลอริดา)
พรินซ์ Florida A&M University Marching 100 Band
เป๊ปซี่ [3][4]
XLII 3 กุมภาพันธ์ 2008 สนามกีฬามหาวิทยาลัยฟีนิกซ์
(เกล็นเดล รัฐแอริโซนา)
Tom Petty & the Heartbreakers
บริดจสโตน [3]
XLIII 1 กุมภาพันธ์ 2009 สนามกีฬาเรย์มอนด์ เจมส์
(แทมปา ฟลอริดา)
บรูซ สปริงส์ทีน และ the E Street Band
บริดจสโตน [3]
ซูเปอร์โบวล์ วันที่ สถานที่ ศิลปินหลัก แขกรับเชิญพิเศษ ผู้อำนวยการ โปรดิวเซอร์ ผู้สนับสนุน รายการเพลง Ref.
XLIV 7 กุมภาพันธ์ 2010 สนามกีฬาซันไลฟ์
(ไมแอมีการ์เดนส์ ฟลอริดา)
เดอะฮู Hamish Hamilton White Cherry Entertainment บริดจสโตน [3]
XLV
(การแสดง)
6 กุมภาพันธ์ 2011 คาวบอยส์สเตเดียม
(อาร์ลิงตัน เท็กซัส)
แบล็กอายด์พีส์
Hamish Hamilton Ricky Kirshner บริดจสโตน
[21]
[3]
XLVI
(การแสดง)
5 กุมภาพันธ์ 2012 สนามกีฬาลูคัส ออยล์
(อินเดียแนโพลิส อินดีแอนา)
มาดอนนา Hamish Hamilton Ricky Kirshner บริดจสโตน
[22]
XLVII
(การแสดง)
3 กุมภาพันธ์ 2013 เมอร์ซีเดส-เบนซ์ ซุเปอร์โดม
(นิวออร์ลีนส์ ลุยเซียนา)
บียอนเซ่ เดสทินีส์ไชลด์ Hamish Hamilton Ricky Kirshner เป๊ปซี่
[27]
XLVIII
(การแสดง)
2 กุมภาพันธ์ 2014 สนามกีฬาเมตไลฟ์
(อีสต์รัทเธอร์ฟอร์ด นิวเจอร์ซีย์)
บรูโน มาส์ เรดฮอตชิลีเพปเปอส์ Hamish Hamilton Ricky Kirshner เป๊ปซี่
[28]
XLIX
(การแสดง)
1 กุมภาพันธ์ 2015 สนามกีฬามหาวิทยาลัยฟีนิกซ์
(เกล็นเดล แอริโซนา)
เคที เพร์รี Hamish Hamilton Ricky Kirshner เป๊ปซี่
[29][30][31]
50
(การแสดง)
7 กุมภาพันธ์ 2016 สนามกีฬาลีวายส์
(ซานตาคลารา แคลิฟอร์เนีย)
โคลด์เพลย์ Hamish Hamilton Ricky Kirshner เป๊ปซี่
[32]
[33][34][35][36][37]
LI
(การแสดง)
5 กุมภาพันธ์ 2017 สนามกีฬาเอ็นอาร์จี
(ฮิวสตัน เท็กซัส)
เลดีกากา Hamish Hamilton Ricky Kirshner เป๊ปซี่ซีโรชูการ์ [38][39]
LII
(การแสดง)
4 กุมภาพันธ์ 2018 สนามกีฬายูเอสแบงก์
(มินนีแอโพลิส มินนิโซตา)
จัสติน ทิมเบอร์เลก Hamish Hamilton Ricky Kirshner เป๊ปซี่
[40][41][42][43][44]
LIII
(การแสดง)
3 กุมภาพันธ์ 2019 สนามกีฬาเมอร์ซีเดส-เบนซ์
(แอตแลนตา จอร์เจีย)
มารูนไฟฟ์ Hamish Hamilton Ricky Kirshner เป๊ปซี่
ซูเปอร์โบวล์ วันที่ สถานที่ ศิลปินหลัก แขกรับเชิญพิเศษ ผู้อำนวยการ โปรดิวเซอร์ ผู้สนับสนุน รายการเพลง Ref.
LIV
(การแสดง)
2 กุมภาพันธ์ 2020 ฮาร์ดร็อกสเตเดียม
(ไมแอมีการ์เดนส์ ฟลอริดา)
ฮามิช แฮมิลตัน
เป๊ปซี่
[45][46][47]
LV
(การแสดง)
7 กุมภาพันธ์ 2021 สนามกีฬาเรย์มอนด์ เจมส์
(แทมปา ฟลอริดา)
เดอะวีกเอนด์
[48]
LVI
(การแสดง)
13 กุมภาพันธ์ 2022 สนามกีฬาโซไฟ
(อินเกิลวูด แคลิฟอร์เนีย)
ฟิฟตีเซนต์
แอนเดอร์สัน พัก
[49]
LVII
(การแสดง)
12 กุมภาพันธ์ 2023 สนามกีฬาสเตดฟาร์ม
(เกล็นเดล แอริโซนา)
รีแอนนา แอปเปิลมิวสิก
[50]
LVIII
(การแสดง)
11 กุมภาพันธ์ 2024 สนามกีฬาอัลลีไจแอนต์
(พาราไดซ์ เนวาดา)
อัชเชอร์ อลิเชีย คีส์
เจอร์เมน ดูปรี
เฮอร์
วิล.ไอ.แอม
ลิล จอน
ลูดาคริส
โซนิกบูมออฟเดอะเซาต์
[51][52][53]
LIX
(การแสดง)
9 กุมภาพันธ์ 2025 ซีซาส์ซูเปอร์โดม
(นิวออร์ลีนส์ รัฐลุยเซียนา)
เคนดริก ลามาร์ รอประกาศ รอประกาศ [54][55]

อ้างอิง

แก้
  1. "Largest TV audience for a Super Bowl half-time performance". Guinness World Records. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 8, 2021. สืบค้นเมื่อ February 19, 2020.
  2. [youtube.com/watch?v=h8TxizeSzAU]
  3. 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 3.10 3.11 3.12 3.13 3.14 3.15 3.16 3.17 3.18 3.19 3.20 3.21 3.22 3.23 3.24 3.25 3.26 3.27 3.28 3.29 3.30 3.31 3.32 3.33 3.34 3.35 3.36 3.37 3.38 3.39 3.40 3.41 3.42 3.43 "Super Bowl History - Entertainment". National Football League. 2011. สืบค้นเมื่อ December 12, 2011.
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 Krasnow, Lonny. "Top 10 Super Bowl Halftime Shows". Sports Illustrated. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 27, 2011. สืบค้นเมื่อ December 12, 2011.
  5. 5.0 5.1 5.2 "GSU Tiger Marching Band". History of Tiger Marching Band. Grambling State University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 14, 2013. สืบค้นเมื่อ December 12, 2011.
  6. "Golden Eagles Marching Band". Southeast Missouri State University. สืบค้นเมื่อ December 12, 2011.
  7. Davis, Sherman (January 23, 1972). "Al and Ella were Good". The New York Times.
  8. "Michigan Band Super Bowl VII halftime 1973 Remaster Part 1 of 2". สืบค้นเมื่อ January 25, 2018 – โดยทาง YouTube.
  9. "Michigan Band Super Bowl VII halftime 1973 Remaster Part 2 of 2". สืบค้นเมื่อ January 25, 2018 – โดยทาง YouTube.
  10. [youtube.com/watch?v=VMBFpDm1YDE]
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 "History of Up with People". UpWithPeople.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 17, 2014. สืบค้นเมื่อ December 12, 2011.
  12. [youtube.com/watch?v=K-7je-6Dk0]
  13. youtube.com/watch?v=2ruQ1tj4MDA&t=4s
  14. youtube.com/watch?v=pxK3qTsj_eE
  15. J. Knapfel. "How an Elvis Impersonator Helped Change Super Bowl History". VIPTickets.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-02-13. สืบค้นเมื่อ 28 January 2016.
  16. Andrews, Travis M. (February 2, 2018). "From Elvis Presto to Michael Jackson: How the Super Bowl halftime show found its groove". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ September 29, 2018.
  17. "HowStuffWorks '17 Notable Super Bowl Halftime Shows'". Entertainment.howstuffworks.com. September 15, 2007. สืบค้นเมื่อ February 1, 2013.
  18. Johnson, Tina; Basham, David (January 6, 2000). "Christina Aguilera, Enrique Iglesias, Toni Braxton To Play Super Bowl Halftime". MTV. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-30. สืบค้นเมื่อ September 25, 2013.
  19. "Super Bowl XXXVIII Halftime Show - Decalz - BMW of TX (vodpod) | Lockerz". vodpod. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กุมภาพันธ์ 22, 2012. สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 1, 2013.
  20. Holmes, Dave (2 February 2018). "Revisiting the Justin Timberlake-Janet Jackson Wardrobe Malfunction, Minute by Minute". Esquire. สืบค้นเมื่อ 6 February 2020.
  21. "Halftime gig 'dream come true' for Black Eyed Peas". Billboard. Associated Press. February 4, 2011. สืบค้นเมื่อ September 29, 2018.
  22. 22.0 22.1 22.2 "Aquí está el setlist de la Super Bowl de Madonna". cromosomax.com.
  23. Madonna to perform at halftime of Super Bowl. Associated Press. Retrieved December 5, 2011.
  24. Nicki Minaj To Perform During Super Bowl With M.I.A & Madonna. Yahoo! News. Retrieved January 13, 2012.
  25. "M.I.A." Billboard.
  26. [1]
  27. "Super Bowl 47 Halftime Show". National Football League.
  28. "Red Hot Chili Peppers will perform at Super Bowl halftime show" (Press release). National Football League. January 11, 2014. สืบค้นเมื่อ January 11, 2014.
  29. Iyengar, Rishi (October 9, 2014). "Katy Perry Will Play Next Year's Super Bowl Halftime Show". Time. สืบค้นเมื่อ October 9, 2014.
  30. "Katy Perry to headline Pepsi Super Bowl XLIX Halftime show" (Press release). National Football League. November 23, 2014. สืบค้นเมื่อ November 23, 2014.
  31. Vena, Jocelyn (January 10, 2015). "Who Will Join Katy Perry During Her Super Bowl Halftime Performance?". Billboard. สืบค้นเมื่อ January 10, 2015.
  32. "Watch Coldplay, Beyonce and Bruno Mars Rock Super Bowl 50 Halftime". Rolling Stone. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-16. สืบค้นเมื่อ 2021-02-09.
  33. "Coldplay will perform at Pepsi Super Bowl 50 Halftime Show" (Press release). National Football League. December 3, 2015. สืบค้นเมื่อ December 4, 2015.
  34. Coscarelli, Joe (December 3, 2015). "Coldplay Will Play Super Bowl 50 Halftime Show". The New York Times. สืบค้นเมื่อ December 31, 2015.
  35. Shotgun Spratling (January 8, 2016). "Beyoncé to perform at Super Bowl 50 halftime show". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ January 11, 2016.
  36. Ng, Davig (January 28, 2016). "Gustavo Dudamel and Youth Orchestra L.A. to perform at Super Bowl 50 halftime show". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ January 31, 2016.
  37. "Bruno Mars to join Beyoncé in Super Bowl halftime show". Entertainment Weekly. February 5, 2016. สืบค้นเมื่อ February 5, 2016.
  38. "Lady Gaga headlines Pepsi Zero Sugar Super Bowl LI Halftime Show". National Football League. September 29, 2016. สืบค้นเมื่อ September 29, 2016.
  39. "Here is Lady Gaga's complete Super Bowl setlist". Sports Illustrated. February 5, 2017. สืบค้นเมื่อ February 6, 2017.
  40. "Justin Timberlake headlines Pepsi Super Bowl LII Halftime Show" (Press release). National Football League. October 23, 2017. สืบค้นเมื่อ October 24, 2017.
  41. Minsker, Evan (October 23, 2017). "Justin Timberlake to Perform at 2018 Super Bowl Halftime Show". Pitchfork. สืบค้นเมื่อ October 24, 2017.
  42. Bieler, Des (October 22, 2017). "NFL confirms Justin Timberlake as Super Bowl halftime performer". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ October 23, 2017.
  43. Runtagh, Jordan (February 1, 2018). "Justin Timberlake Shuts Down Janet Jackson Reunion Rumors at Super Bowl LII Press Conference". People. สืบค้นเมื่อ September 29, 2018.
  44. "U Of M Marching Band Plays Halftime Show With Justin Timberlake". 2018-02-04. สืบค้นเมื่อ 2018-02-05.
  45. "Jennifer Lopez And Shakira Headlining 2020 Super Bowl Halftime Show". Fort Lauderdale Daily (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-07. สืบค้นเมื่อ 2019-12-02.
  46. Baysinger, Tim (2019-09-26). "Jennifer Lopez, Shakira, J Balvin and Bad Bunny to Headline Super Bowl LIV Halftime Show". TheWrap (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2019-09-26.
  47. "Emme Maribel Muñiz: Jennifer Lopez's daughter joins her on-stage at the Super Bowl". Harper's BAZAAR (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-02-03. สืบค้นเมื่อ 2020-02-03.
  48. Yoo, Noah. "Watch the Weeknd's Super Bowl 2021 Halftime Show". Pitchfork (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
  49. "Dr. Dre, Snoop Dogg, Eminem, Mary J Blige & Kendrick Lamar Set for Pepsi Super Bowl LVI Halftime Show". Billboard (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-09-30.
  50. "Rihanna to Headline 2023 Super Bowl Halftime Show: 'Let's Go'". Peoplemag (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-09-25.
  51. "Usher to perform during Apple Music Super Bowl LVIII Halftime Show". nfl (ภาษาอังกฤษ). September 24, 2023. สืบค้นเมื่อ 2023-09-24.
  52. "Every song on Usher's setlist for the Super Bowl halftime show". Business Insider.
  53. Horowitz, Steven J. "Usher's Halftime Show Is a Guest-Packed Frenzy of Sexy Shirtless Jams, Roller Skating and Breathless Dance Moves". Variety (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2024-02-12.
  54. Patra, Kevin (October 14, 2020). "New Orleans to host 2025 Super Bowl; 2024 SB now TBD". National Football League. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 17, 2020. สืบค้นเมื่อ October 14, 2020.
  55. "Kendrick Lamar to Headline 2025 Apple Music Super Bowl LIX Halftime Show". The Hollywood Reporter. September 8, 2024. สืบค้นเมื่อ September 8, 2024.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน