รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันตก
ยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 18 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเป็นมรดกโลก [1]
- หมายเหตุ – ตัวเลขหน้าข้อความหมายถึง ปี พ.ศ./ค.ศ. ที่สถานที่นั้นๆ ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
สถิติ
แก้ประเทศ | จำนวนมรดกโลก | ประเภท |
อิหร่าน | วัฒนธรรม 26 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง | |
ตุรกี (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตก) | วัฒนธรรม 17 แห่ง, ผสม 2 แห่ง[2] | |
อิสราเอล | วัฒนธรรม 9 แห่ง | |
ซาอุดีอาระเบีย | วัฒนธรรม 7 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
จอร์แดน | วัฒนธรรม 6 แห่ง, ผสม 1 แห่ง | |
ซีเรีย | วัฒนธรรม 6 แห่ง | |
เลบานอน | วัฒนธรรม 6 แห่ง | |
อิรัก | วัฒนธรรม 5 แห่ง, ผสม 1 แห่ง | |
ปาเลสไตน์ | วัฒนธรรม 5 แห่ง | |
เยเมน | วัฒนธรรม 4 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
อาเซอร์ไบจาน | วัฒนธรรม 4 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
โอมาน | วัฒนธรรม 5 แห่ง | |
จอร์เจีย | วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
ไซปรัส | วัฒนธรรม 3 แห่ง | |
อาร์มีเนีย | วัฒนธรรม 3 แห่ง | |
บาห์เรน | วัฒนธรรม 3 แห่ง | |
กาตาร์ | วัฒนธรรม 1 แห่ง | |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | วัฒนธรรม 1 แห่ง | |
นครเยรูซาเลม | วัฒนธรรม 1 แห่ง |
- ประเทศคูเวตไม่มีสถานที่ที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
- 2556/2013 – แหล่งโบราณคดีอัซซุบาเราะฮ์
- 2528/1985 – เปตรา
- 2528/1985 – กุศ็อยร์อัมเราะฮ์
- 2547/2004 – อุมมัรเราะศอศ (กาสตรอมเมฟาอา)
- 2554/2011 – พื้นที่คุ้มครองวาดีรุม
- 2558/2015 – แหล่งทำพิธีล้างบาป "เบทานีฟากตรงข้ามแม่น้ำจอร์แดน" (อัลมัฆฏ็อส)
- 2564/2021 – As-Salt - The Place of Tolerance and Urban Hospitality
- 2567/2024 – อุมมุลญิมาล
- 2537/1994 – อารามเกลาที
- 2537/1994 – โบราณสถานแห่งมสเคทา
- 2539/1996 – สวาเนทีตอนบน
- 2564/2021 – ป่าฝนและพื้นที่ชุ่มน้ำโคลกิส
- 2523/1980 – ปาโฟส
- 2528/1985 – โบสถ์ประดับภาพจิตรกรรมในภูมิภาคโตรโอโดส
- 2541/1998 – ชีโรจีตีอา
- 2551/2008 – แหล่งโบราณคดีอัลฮิจญร์ (มะดาอินศอเลียะห์)
- 2553/2010 – เขตอัฏฏุร็อยฟ์ในอัดดิรอียะฮ์
- 2557/2014 – เมืองประวัติศาสตร์ญิดดะฮ์ ประตูสู่มักกะฮ์
- 2558/2015 – ศิลปะหินในแคว้นฮาอิลแห่งซาอุดีอาระเบีย
- 2561/2018 – Al-Ahsa Oasis, an evolving Cultural Landscape
- 2564/2021 – พื้นที่วัฒนธรรมฮิมา
- 2566/2023 – อุรูกบะนีมะอาริฎ
- 2567/2024 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของพื้นที่โบราณคดีอัลฟาว
- 2522/1979 – นครโบราณดามัสกัส
- 2523/1980 – นครโบราณบอสรา
- 2523/1980 – แหล่งแพลไมรา
- 2529/1986 – นครโบราณอะเลปโป
- 2549/2006 – ครักเดเชอวาลีเยและก็อลอะฮ์เศาะลาฮุดดีน
- 2554/2011 – หมู่บ้านโบราณแห่งซีเรียตอนเหนือ
- 2528/1985 – อุทยานแห่งชาติเกอเรแมและแหล่งหินแห่งแคปพาโดเชีย
- 2528/1985 – มัสยิดใหญ่และโรงพยาบาลแห่งดิฟริยี
- 2529/1986 – ฮัตตูชา : เมืองหลวงของฮิตไทต์
- 2530/1987 – แน็มรุทดา
- 2531/1988 – ฮีเอราโปลิส-ปามุกกาเล
- 2531/1988 – คซันโทส-เลโตโอน
- 2537/1994 – นครซัฟรันโบลู
- 2541/1998 – แหล่งโบราณคดีทรอย
- 2555/2012 – แหล่งยุคหินใหม่แห่งชาทัลเฮอยึค
- 2557/2014 – บูร์ซาและจูมาลือคือซึค : กำเนิดแห่งจักรวรรดิออตโตมัน
- 2557/2014 – เปร์กาโมนและภูมิทัศน์วัฒนธรรมหลายชั้น
- 2558/2015 – ป้อมดิยาร์บาคือร์และภูมิทัศน์วัฒนธรรมสวนเฮ็ฟแซ็ล
- 2558/2015 – เอฟิซัส
- 2559/2016 – แหล่งโบราณคดีอานี
- 2560/2017 – แอโฟรดิเซียส
- 2561/2018 – เกอเบ็กลีเทแพ
- 2564/2021 – มูนดินอาร์สลันเทแพ
- 2566/2023 – กอร์ดีออน
- 2566/2023 – Wooden Hypostyle Mosques of Medieval Anatolia
- 2548/2005 – ก็อลอะฮ์อัลบะห์ร็อยน์ ท่าจอดเรือโบราณและเมืองหลวงของดิลมูน
- 2555/2012 – การงมหอยมุกพยานหลักฐานของเศรษฐกิจเกาะ
- 2562/2019 – หลุมฝังศพสมัยดิลมูน
- 2555/2012 – สถานที่ประสูติของพระเยซู : โบสถ์พระคริสตสมภพและเส้นทางการจาริกแสวงบุญ เบทเลเฮม
- 2557/2014 – ปาเลสไตน์ : ดินแดนแห่งมะกอกออลิฟและเหล้าองุ่น ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเยรูซาเลมตอนใต้ บะตีร
- 2560/2017 – เมืองเก่าเฮบรอน/อัลคาลิล
- 2566/2023 – เจริโคโบราณ/ตัลลุสซุลฏอน
- 2567/2024 – อารามนักบุญฮิลาเรียน/ตัลล์อุมม์อามิร
- 2525/1982 – นครเก่าที่มีป้อมปราการแห่งชิบาม
- 2529/1986 – นครเก่าซานา
- 2536/1993 – เมืองประวัติศาสตร์ซะบีด
- 2551/2008 – กลุ่มเกาะโซโคตรา
- 2566/2023 – ภูมิสัญลักษณ์แห่งอาณาจักรซะบะอ์โบราณในมะอ์ริบ
- 2524/1981 – นครเก่าเยรูซาเลมและกำแพงเมือง (เสนอขึ้นทะเบียนโดยประเทศจอร์แดน)
- 2527/1984 – อันจาร์
- 2527/1984 – บาลเบก
- 2527/1984 – บิบลัส
- 2527/1984 – ไทร์
- 2541/1998 – วาดีกอดีชา (หุบเขาศักดิ์สิทธิ์) และป่าซีดาร์ของพระเจ้า (ฮัรช์อัรซัรร็อบ)
- 2566/2023 – งานแสดงสินค้านานาชาติเราะชีด กะรอมี ในตริโปลี
- 2554/2011 – แหล่งวัฒนธรรมแห่งอัลอัยน์ (ฮะฟีต, ฮีลี, บิดะอ์บินต์ซะอูด และพื้นที่โอเอซิส)
- 2543/2000 – นครที่มีป้อมปราการแห่งบากูพร้อมด้วยพระราชวังของชีร์วานชาฮ์และหอคอยหญิงสาว
- 2550/2007 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมศิลปะบนหินโกบุสถาน
- 2562/2019 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์แชคีพร้อมด้วยพระราชวังของข่าน
- 2566/2023 – ป่าเฮอร์เคเนีย (ร่วมกับอิหร่าน)
- 2566/2023 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของชาวฆือนาลึกและเส้นทางเคลื่อนย้ายปศุสัตว์ตามฤดูกาล "เคิชโยลู"
- 2539/1996 – อารามฮัคปัตและซานาฮิน
- 2543/2000 – อาสนวิหารและโบสถ์แห่งแอชเมียตซินและแหล่งโบราณคดีซวาร์ทนอตส์
- 2543/2000 – อารามแกคาร์ดและหุบเขาอาซัตตอนบน
- 2528/1985 – แฮตรา
- 2546/2003 – อาชูร์ (ก็อลอะฮ์ชัรกียะฮ์)
- 2550/2007 – นครโบราณคดีซามาร์รา
- 2557/2014 – ป้อมเอร์บีล
- 2559/2016 – อะฮ์วารแห่งอิรักตอนใต้ : ที่ปลอดภัยของความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิทัศน์ที่เหลืออยู่ของนครเมโสโปเตเมีย
- 2562/2019 – บาบิโลน
- 2544/2001 – มาซาดา
- 2544/2001 – นครเก่าเอเคอร์
- 2546/2003 – นครสีขาวเทลอาวีฟ ขบวนการนวยุค
- 2548/2005 – มูนดินในคัมภีร์ไบเบิล - เมกิดโด, คัตซอร์, เบียร์ชีบา
- 2548/2005 – เส้นทางสายเครื่องหอม - นครทะเลทรายในเนเกฟ
- 2551/2008 – สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาบาไฮในไฮฟาและกาลิลีตะวันตก
- 2555/2012 – แหล่งวิวัฒนาการของมนุษย์ที่ภูเขาคาร์เมล : ถ้ำนาคัลเมอารอต / วาดีอัลมุเฆาะเราะฮ์
- 2557/2014 – ถ้ำมาเรชาและเบต-กุฟรินในที่ต่ำจูเดีย จักรวาลเล็ก ๆ แห่งดินแดนถ้ำ
- 2558/2015 – สุสานเบย์ตเชอาริม : ภูมิสัญลักษณ์แห่งการฟื้นฟูประชาคมยิว
- 2522/1979 – เมย์ดอเนเอมอม เอสแฟฮอน
- 2522/1979 – เปร์เซโปลิส
- 2522/1979 – โชฆอแซมบีล
- 2546/2003 – แทฆเทโซเลย์มอน
- 2547/2004 – แบมและภูมิทัศน์วัฒนธรรม
- 2547/2004 – ปาซาร์กาได
- 2548/2005 – โซลทอนีเย
- 2549/2006 – บีโซทูน
- 2551/2008 – กลุ่มอารามอาร์มีเนียแห่งอิหร่าน
- 2552/2009 – ระบบชลศาสตร์เก่าแก่แห่งชูชแทร์
- 2553/2010 – กลุ่มฆองกอฮ์และสักการสถานแห่งเชคแซฟีแอดดีนในแอร์แดบีล
- 2553/2010 – กลุ่มปสานเก่าแก่แห่งแทบรีซ
- 2554/2011 – สวนเปอร์เซีย
- 2555/2012 – โกมแบเดคอวูส
- 2555/2012 – แมสเจเดจอเมอ์แห่งเอสแฟฮอน
- 2556/2013 – พระราชวังโกเลสถาน
- 2557/2014 – แชฮ์เรซูฆเท
- 2558/2015 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเมย์แมนด์
- 2558/2015 – ซูซา
- 2559/2016 – กะนาตแห่งเปอร์เซีย
- 2559/2016 – ทะเลทรายลูต
- 2560/2017 – นครประวัติศาสตร์แยซด์
- 2561/2018 – ภูมิทัศน์โบราณคดีของแซสซานิดในภูมิภาคฟอร์ส
- 2562/2019 – ป่าเฮอร์เคเนีย (ร่วมกับอาเซอร์ไบจาน)
- 2564/2021 – ทางรถไฟสายทรานส์อิหร่าน
- 2564/2021 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเฮารามาน/อูรามานัต
- 2566/2023 – สถานีคาราวานเปอร์เซีย
- 2567/2024 – เฮกแมทอเน
- 2530/1987 – ป้อมบะฮ์ลาอ์
- 2531/1988 – แหล่งโบราณคดีบาต, อัลคุฏม์ และอัลอัยน์
2537/1994 – เขตรักษาพันธุ์ออริกซ์อาระเบียถูกถอดจากบัญชีมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2550- 2543/2000 – ดินแดนแห่งกำยาน
- 2549/2006 – ระบบชลประทานอัฟลาจญ์แห่งโอมาน
- 2561/2018 – Ancient City of Qalhat
อ้างอิง
แก้- ↑ World Heritage List, UNESCO World Heritage Sites official sites.
- ↑ ตุรกีมีแหล่งมรดกโลกทั้งสิ้น 21 แห่ง ประกอบด้วยแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 19 แห่ง และแบบผสม 2 แห่ง
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้
|
|