รายชื่อหน่วยรบพิเศษของไทย
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
รายชื่อหน่วยรบพิเศษและหน่วยปฏิบัติการพิเศษในประเทศไทย จาก 3 เหล่าทัพ ประกอบไปด้วย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
กองทัพบก
แก้กองทัพบก ประกอบด้วยหน่วยรบพิเศษดังนี้
หน่วยบัญชาการทางสงครามรบพิเศษกองทัพบก
แก้หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แก้- ศูนย์สงครามพิเศษ
- โรงเรียนสงครามพิเศษ
- กองพลรบพิเศษที่ 1 (พล.รพ.ศ. 1)
- กรมรบพิเศษที่ 1 (รพ.ศ. 1)
- กองพันรบพิเศษที่ 1 กรมรบพิเศษที่ 1 (พลร่ม)
- กองพันรบพิเศษที่ 2 กรมรบพิเศษที่ 1 (พลร่ม)
- กรมรบพิเศษที่ 2 (รพศ. 2)
- กองพันรบพิเศษที่ 1 กรมรบพิเศษที่ 2 (พลร่ม)
- กองพันรบพิเศษที่ 2 กรมรบพิเศษที่ 2 (พลร่ม)
- กรมรบพิเศษที่ 3 รักษาพระองค์ (รพ.ศ. 3 รอ.)
- กองพันปฏิบัติการพิเศษรักษาพระองค์ กรมรบพิเศษที่ 3 รักษาพระองค์ รู้จักกันในชื่อ ฉ.ก. 90
- กองพันจู่โจมรักษาพระองค์ กรมรบพิเศษที่ 3 รักษาพระองค์ รู้จักกันในชื่อ พันจู่โจม และ เรนเจอร์
- กรมรบพิเศษที่ 4 (รพ.ศ. 4)
- กองพันรบพิเศษที่ 1 กรมรบพิเศษที่ 4 (พลร่ม)
- กองพันรบพิเศษที่ 2 กรมรบพิเศษที่ 4 (พลร่ม)
- กรมรบพิเศษที่ 5 (รพ.ศ. 5)
- กองพันรบพิเศษที่ 1 กรมรบพิเศษที่ 5 (พลร่ม)
- กองพันรบพิเศษที่ 2 กรมรบพิเศษที่ 5 (พลร่ม)
- กองพันปฏิบัติการจิตวิทยา (พัน.ปจว.)
- กองพลาธิการส่งทางอากาศ (กอง พธ.สกอ.)
- กองพันทหารสื่อสารที่ 35 (ส.พัน.35 นสศ.)
- กรมรบพิเศษที่ 1 (รพ.ศ. 1)
- กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์
- กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
- กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
- กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
กองทัพเรือ
แก้กองทัพเรือ ประกอบด้วยหน่วยรบพิเศษ ดังนี้
- หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ รู้จักกันในชื่อ หน่วยซีล
- หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน
- กองพันลาดตระเวน กองพลนาวิกโยธิน รู้จักกันในชื่อ หน่วยรีคอน
กองทัพอากาศ
แก้กองทัพอากาศ ประกอบด้วยหน่วยรบพิเศษ ดังนี้
- หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
- กรมปฏิบัติการพิเศษ รู้จักกันในชื่อ คอมมานโด กองทัพอากาศ
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แก้สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประกอบด้วยหน่วยปฏิบัติการพิเศษหลายหน่วยตามรูปแบบของหน่วยยุทธวิธีตำรวจ (PTU) จึงขอแสดงเพียงหน่วยที่ขึ้นสายการบังคับบัญชาด้านยุทธการร่วมกับศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายสากล[6] ได้แก่
- อรินทราช 26 สังกัด กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ[7] กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีเขตรับผิดชอบในพื้นที่ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล[6] มีความเชี่ยวชาญด้านการต่อต้านการก่อการร้ายในเขตเมือง[8]
- นเรศวร 261 สังกัด กองกำกับการ 3 กองบังคับการสนับสนุนทางอากาศ[9] กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีเขตรับผิดชอบในการปฏิบัติการทั่วประเทศ รวมถึงมีขีดความสามารถในการสนับสนุนการปฏิบัติการสงครามพิเศษ[6]
หลักสูตรการฝึกหน่วยรบพิเศษ
แก้กองทัพบก
แก้เครื่องหมายแสดงความสามารถ | ชื่อหลักสูตร | ผู้ฝึก | ระยะเวลาฝึก | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
หลักสูตรทหารเสือ | กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ | 16 สัปดาห์ (4 เดือน) | รู้จักกันในชื่อหลักสูตร ทหารเสือราชินี[10] | |
หลักสูตรการรบแบบจู่โจม | ประกอบด้วยศูนย์ฝึก 3 แห่ง[11]
|
10 สัปดาห์ (2 เดือนครึ่ง)[12] | รู้จักกันในชื่อ เสือคาบดาบ และหลักสูตร Ranger |
กองทัพเรือ
แก้เครื่องหมายแสดงความสามารถ | ชื่อหลักสูตร | ผู้ฝึก | ระยะเวลาฝึก | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
หลักสูตรนักทำลายใต้น้ำจู่โจม | หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ | 31 สัปดาห์ (8 เดือน) | รู้จักกันในชื่อ
หน่วยซีล และ หลักสูตร UDT/SEAL | |
หลักสูตรการรบพิเศษ แขนงการลาดตระเวนสะเทินน้ำสะเทินบก และจู่โจม นาวิกโยธิน[14] (RECON) | กองพันลาดตระเวน กองพลนาวิกโยธิน หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน | 13 สัปดาห์ (3 เดือน)[15] | รู้จักกันในชื่อ
นักรบรีคอน และ หลักสูตร รีคอน |
กองทัพอากาศ
แก้เครื่องหมายแสดงความสามารถ | ชื่อหลักสูตร | ผู้ฝึก | ระยะเวลาฝึก | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
หลักสูตรปฏิบัติการพิเศษ อากาศโยธิน | กรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน | 22 สัปดาห์ (5 เดือนครึ่ง)[16] | รวมหลักสูตรคอมมานโด และหลักสูตร ค้นหาและช่วยชีวิต เข้าด้วยกัน เมื่อจบหลักสูตรได้ได้รับการประดับทั้ง 2 เครื่องหมาย[17] สามารถทำหน้าที่ได้ทั้ง Commando, PJ และ CCT[18] | |
หลักสูตรส่งทางอากาศ อากาศโยธิน | ศูนย์การทหารอากาศโยธิน หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน | 5 สัปดาห์ |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "การแข่งขันปัญจกีฬาทหาร SPECIAL OPERATIONS CUP 2017 | Facebook". www.facebook.com.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "320th STS conducts military free fall with Thai partners". DVIDS (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "Two nations, one mission: US TACP, Thai CCT join forces". Air Force (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- ↑ "การฝึกกระโดดร่มกลางคืน ( ช่วงดวงอาทิตย์กำลังตก ) - Whisky Tactical". Facebook.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ นาคพุ่ม, เอกพล (2020-12-06). "AAG_th บันทึกประจำวัน: การแสดงสาธิตการใช้กำลังทางอากาศในพิธีเปิดการแข่งขันการปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธีประจำปี ๒๕๖๔ กองทัพอากาศไทย". AAG_th บันทึกประจำวัน.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ 6.0 6.1 6.2 "หน่วยปฏิบัติการพิเศษนเรศวร 261 ฝึกสาธิตปฏิบัติการแก้ปัญหาก่อการร้ายสากล". mgronline.com. 2013-05-28.
- ↑ "อรินทราช 26 หรือ S.W.A.T. พลีชีพ 2ศพ กับภารกิจฝ่าดงกระสุน สยบจ่าคลั่ง". mgronline.com. 2020-02-10.
- ↑ "รู้จักหน่วย อรินทราช 26 นักรบในเมือง ฮีโร่ในชีวิตจริง ผู้ต่อต้านการก่อการร้าย". kapook.com. 2020-02-10.
- ↑ ""บิ๊กใหม่"นำกำลัง ตำรวจพลร่ม ชุดนเรศวร 261 ล่าโจรชิงรถ และปืนM.4ของตชด". INN News. 2021-04-22.
- ↑ มติชนสุดสัปดาห์ (2016-10-12). "ความเป็นมาของหลักสูตรการฝึกเพิ่มเติมทางทหาร : หลักสูตรทหารเสือและทหารมหาดเล็ก". มติชนสุดสัปดาห์.
- ↑ ""เสือคาบดาบ" ประดับหน้าอก...กว่าจะได้เป็นนักรบจู่โจม". คมชัดลึกออนไลน์. 2019-05-28.
- ↑ "ผบ.ทบ. ติดเครื่องหมาย "เสือคาบดาบ" ให้ 223 นายร้อย จบหลักสูตรจู่โจม". www.thairath.co.th. 2022-03-21.
- ↑ "ผบ.หน่วยซีล มอบเครื่องหมายแสดงความสามารถ นักทำลายใต้น้ำจู่โจมรุ่นที่ 46". www.thairath.co.th. 2019-06-18.
- ↑ "Royal Thai Navy - Detail Main". www.navy.mi.th.
- ↑ https://www.pptvhd36.com. "นรกทุกสัปดาห์!! "รบพิเศษรีคอน" แห่งราชนาวี". pptvhd36.com.
{{cite web}}
: แหล่งข้อมูลอื่นใน
(help)|last=
- ↑ "นักรบปฏิบัติการพิเศษ S.O. ชายชาติทหารที่แพ้ไม่เป็น!!". dailynews. 2017-01-03.
- ↑ "RTAF News พิธีปิดการศึกษา หลักสูตรการปฏิบัติการพิเศษ รุ่นที่ ๑๒". rtaf.mi.th.[ลิงก์เสีย]
- ↑ admin (2017-03-27). "Patriot Outfit Thailand - Special Operations Course, RTAF Commando/PJ/CCT #12". Patriot.