รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

สมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก

สมาชิกปัจจุบัน แก้

สมาชิกถาวร
ประเทศ กลุ่มภูมิภาค สมาชิกตั้งแต่
  จีน กลุ่มเอเชีย-แปซิฟิก 1971 ซึ่งแทนที่สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
  ฝรั่งเศส กลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ 1945
  รัสเซีย กลุ่มยุโรปตะวันออก 1991 ซึ่งแทนที่สหภาพโซเวียต
  บริเตนใหญ่ กลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ 1945
  สหรัฐ กลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ 1945
สมาชิกไม่ถาวร

ระเบียบที่ตั้งไว้กำหนดให้ที่ประชุมสมัชชาเลือกสมาชิกหมุนเวียน 10 ประเทศ เข้าดำรงตำแหน่งวาระละ 2 ปี เลือกปีละ 1 ครั้ง กล่าวคือทุกปีต้องมีการเลือกสมาชิกใหม่เข้ามา 5 ประเทศ และวิธีการเลือกประเทศสมาชิกก็ต้องอยู่ภายใต้ข้อกำหนดทางภูมิศาสตร์

ประเทศ กลุ่มภูมิภาค เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
  แอลเบเนีย ยุโรปตะวันออก 2022 2023
  บราซิล ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 2022 2023
  เอกวาดอร์ ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 2023 2024
  กาบอง แอฟริกา 2022 2023
  กานา แอฟริกา 2022 2023
  ญี่ปุ่น เอเชีย-แปซิฟิก 2023 2024
  มอลตา ยุโรปตะวันตกและประเทศอื่น 2023 2024
  โมซัมบิก แอฟริกา 2023 2024
  สวิตเซอร์แลนด์ ยุโรปตะวันตกและประเทศอื่น 2023 2024
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เอเชีย-แปซิฟิก 2022 2023
 
แผนที่แสดงประเทศสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (UNSC)
  สมาชิกถาวร
  สมาชิกไม่ถาวร

กลุ่มภูมิภาค แก้

 
  กลุ่มแอฟริกา
  กลุ่มเอเชีย-แปซิฟิก
  กลุ่มยุโรปตะวันออก
  กลุ่มละตินอเมริกาและแคริบเบียน
  กลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
  สมาชิกของสหประชาชาติที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มออกเสียงลงคะแนน
  ไม่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ

องค์ประกอบคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติในอดีตและอนาคต แก้

จากปี 1946 ถึง 1965, คณะมนตรีความมั่นคงมี 6 สมาชิกไม่ถาวร โดยแบ่งตามภูมิภาคคือ:

สมาชิกรายปี แก้

สมาชิกถาวร แก้

ปี จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย บริติช อเมริกัน
1945   สาธารณรัฐจีน   รัฐบาลชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส   สหภาพโซเวียต   สหราชอาณาจักร   สหรัฐ
1946   สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4
1949   สาธารณรัฐจีน
1958   สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5
1971   สาธารณรัฐประชาชนจีน
1992–ปัจจุบัน   สหพันธรัฐรัสเซีย

1946–1965 แก้

ปี ละตินอเมริกา เครือจักรภพแห่งประชาชาติ ยุโรปตะวันออก
& เอเชีย
ตะวันออกกลาง ยุโรปตะวันตก
1946   บราซิล   เม็กซิโก   ออสเตรเลีย   โปแลนด์   อียิปต์   เนเธอร์แลนด์
1947   โคลอมเบีย   ซีเรีย   เบลเยียม
1948   อาร์เจนตินา   แคนาดา   ยูเครน
1949   คิวบา   อียิปต์   นอร์เวย์
1950   เอกวาดอร์   อินเดีย   ยูโกสลาเวีย
1951   บราซิล   ตุรกี   เนเธอร์แลนด์
1952   ชิลี   ปากีสถาน   กรีซ
1953   โคลอมเบีย   เลบานอน   เดนมาร์ก
1954   บราซิล   นิวซีแลนด์   ตุรกี
1955   เปรู  อิหร่าน   เบลเยียม
1956   คิวบา   ออสเตรเลีย   ยูโกสลาเวีย
1957   โคลอมเบีย   ฟิลิปปินส์   อิรัก   สวีเดน
1958   ปานามา   แคนาดา   ญี่ปุ่น
1959   อาร์เจนตินา   ตูนิเซีย   อิตาลี
1960   เอกวาดอร์   ซีลอน   โปแลนด์
1961   ชิลี   ตุรกี   สหสาธารณรัฐอาหรับ   ไลบีเรีย
1962   เวเนซุเอลา   กานา   โรมาเนีย   ไอร์แลนด์
1963   บราซิล   ฟิลิปปินส์   โมร็อกโก[note 1]   นอร์เวย์
1964   โบลิเวีย   โกตดิวัวร์   เชโกสโลวาเกีย
1965   อุรุกวัย   มาเลเซีย   จอร์แดน   เนเธอร์แลนด์

1966–ปัจจุบัน แก้

ปี กลุ่มแอฟริกา กลุ่มเอเชีย-แปซิฟิก กลุ่มละตินอเมริกาและแคริบเบียน กลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ กลุ่มยุโรปตะวันออก
* หมายถึงตัวแทนของประเทศอาหรับ
1966   มาลี   ไนจีเรีย   ยูกันดา   ญี่ปุ่น   จอร์แดน *   อาร์เจนตินา   อุรุกวัย   เนเธอร์แลนด์   นิวซีแลนด์   บัลแกเรีย
1967   เอธิโอเปีย   อินเดีย   บราซิล   แคนาดา   เดนมาร์ก
1968   แอลจีเรีย *   เซเนกัล   ปากีสถาน   ปารากวัย   ฮังการี
1969  แซมเบีย   เนปาล   โคลอมเบีย   ฟินแลนด์   สเปน
1970   บุรุนดี   เซียร์ราลีโอน   ซีเรีย *   นิการากัว   โปแลนด์
1971   โซมาเลีย   ญี่ปุ่น   อาร์เจนตินา   เบลเยียม   อิตาลี
1972   กินี   ซูดาน *   อินเดีย   ปานามา   ยูโกสลาเวีย
1973   เคนยา   อินโดนีเซีย   เปรู   ออสเตรเลีย   ออสเตรีย
1974   แคเมอรูน   มอริเตเนีย   อิรัก *   คอสตาริกา  เบียโลรัสเซีย
1975   แทนซาเนีย   ญี่ปุ่น   กายอานา   อิตาลี   สวีเดน
1976   เบนิน   ลิเบีย *   ปากีสถาน   ปานามา   โรมาเนีย
1977   มอริเชียส   อินเดีย   เวเนซุเอลา   แคนาดา   เยอรมนีตะวันตก
1978   กาบอง   ไนจีเรีย   คูเวต *   โบลิเวีย   เชโกสโลวาเกีย
1979  แซมเบีย   บังกลาเทศ   จาเมกา   นอร์เวย์   โปรตุเกส
1980   ไนเจอร์   ตูนิเซีย *   ฟิลิปปินส์   เม็กซิโก   เยอรมนีตะวันออก
1981   ยูกันดา   ญี่ปุ่น   ปานามา   ไอร์แลนด์   สเปน
1982   โตโก   ซาอีร์   จอร์แดน *   กายอานา   โปแลนด์
1983   ซิมบับเว   ปากีสถาน   นิการากัว   มอลตา   เนเธอร์แลนด์
1984   บูร์กินาฟาโซ[note 2]   อียิปต์ *   อินเดีย   เปรู  ยูเครน
1985   มาดากัสการ์   ไทย   ตรินิแดดและโตเบโก   ออสเตรเลีย   เดนมาร์ก
1986   คองโก   กานา   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ *   เวเนซุเอลา   บัลแกเรีย
1987  แซมเบีย   ญี่ปุ่น   อาร์เจนตินา   เยอรมนีตะวันตก   อิตาลี
1988   แอลจีเรีย *   เซเนกัล   เนปาล   บราซิล   ยูโกสลาเวีย
1989   เอธิโอเปีย   มาเลเซีย   โคลอมเบีย   แคนาดา   ฟินแลนด์
1990   โกตดิวัวร์   ซาอีร์   เยเมน *   คิวบา   โรมาเนีย
1991   ซิมบับเว   อินเดีย   เอกวาดอร์   ออสเตรีย   เบลเยียม
1992   กาบูเวร์ดี   โมร็อกโก *   ญี่ปุ่น   เวเนซุเอลา   ฮังการี
1993   จิบูตี   ปากีสถาน   บราซิล   นิวซีแลนด์   สเปน
1994   ไนจีเรีย   รวันดา   โอมาน *   อาร์เจนตินา   เช็กเกีย
1995   บอตสวานา   อินโดนีเซีย   ฮอนดูรัส   เยอรมนี   อิตาลี
1996   อียิปต์ *   กินี-บิสเซา   เกาหลีใต้   ชิลี   โปแลนด์
1997   เคนยา   ญี่ปุ่น   คอสตาริกา   โปรตุเกส   สวีเดน
1998   กาบอง   แกมเบีย   บาห์เรน *   บราซิล   สโลวีเนีย
1999   นามิเบีย   มาเลเซีย   อาร์เจนตินา   แคนาดา   เนเธอร์แลนด์
2000   มาลี   ตูนิเซีย *   บังกลาเทศ   จาเมกา   ยูเครน
2001   มอริเชียส   สิงคโปร์   โคลอมเบีย   ไอร์แลนด์   นอร์เวย์
2002   แคเมอรูน   กินี   ซีเรีย *   เม็กซิโก   บัลแกเรีย
2003   แองโกลา   ปากีสถาน   ชิลี   เยอรมนี   สเปน
2004   แอลจีเรีย *   เบนิน   ฟิลิปปินส์   บราซิล   โรมาเนีย
2005   แทนซาเนีย   ญี่ปุ่น   อาร์เจนตินา   เดนมาร์ก   กรีซ
2006   กานา   คองโก   กาตาร์ *   เปรู   สโลวาเกีย
2007   แอฟริกาใต้   อินโดนีเซีย   ปานามา   เบลเยียม   อิตาลี
2008   บูร์กินาฟาโซ   ลิเบีย *   เวียดนาม   คอสตาริกา   โครเอเชีย
2009   ยูกันดา   ญี่ปุ่น   เม็กซิโก   ออสเตรีย   ตุรกี
2010   กาบอง   ไนจีเรีย   เลบานอน *   บราซิล   บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
2011   แอฟริกาใต้   อินเดีย   โคลอมเบีย   เยอรมนี   โปรตุเกส
2012   โมร็อกโก *   โตโก   ปากีสถาน   กัวเตมาลา   อาเซอร์ไบจาน
2013   รวันดา   เกาหลีใต้   อาร์เจนตินา   ออสเตรเลีย   ลักเซมเบิร์ก
2014   ชาด   ไนจีเรีย   จอร์แดน *   ชิลี   ลิทัวเนีย
2015   แองโกลา   มาเลเซีย   เวเนซุเอลา   นิวซีแลนด์   สเปน
2016   อียิปต์ *   เซเนกัล   ญี่ปุ่น   อุรุกวัย   ยูเครน
2017   เอธิโอเปีย   คาซัคสถาน   โบลิเวีย   อิตาลี   สวีเดน
2018   โกตดิวัวร์   อิเควทอเรียลกินี   คูเวต*   เปรู   เนเธอร์แลนด์[1]   โปแลนด์
2019   แอฟริกาใต้   อินโดนีเซีย   สาธารณรัฐโดมินิกัน   เยอรมนี   เบลเยียม
2020   ไนเจอร์   ตูนิเซีย*   เวียดนาม   เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์   เอสโตเนีย
2021   เคนยา   อินเดีย   เม็กซิโก   ไอร์แลนด์   นอร์เวย์
2022   กาบอง   กานา   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์*   บราซิล   แอลเบเนีย
2023   โมซัมบิก   ญี่ปุ่น   เอกวาดอร์   มอลตา   สวิตเซอร์แลนด์

รายการแสดงตามจำนวนปีของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ แก้

      ตำแหน่งสมาชิกถาวร

      ตำแหน่งสมาชิกไม่ถาวร (2019)

      อดีตสมาชิกสหประชาชาติ

ปี ประเทศ ปีแรก ปีล่าสุด กลุ่มภูมิภาค ข้อมูล
78   ฝรั่งเศส 1945 2023 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ สมาชิกถาวร
78   สหราชอาณาจักร 1945 2023 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ สมาชิกถาวร
78   สหรัฐ 1945 2023 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ สมาชิกถาวร
52   จีน 1971 2023 เอเชีย-แปซิฟิก สมาชิกถาวร
46   สหภาพโซเวียต 1945 1991 ยุโรปตะวันออก อดีตสมาชิกถาวร แทนที่โดยสหพันธรัฐรัสเซีย
32   สหพันธรัฐรัสเซีย 1991 2023 ยุโรปตะวันออก สมาชิกถาวร
26   สาธารณรัฐจีน 1945 1971 เอเชีย อดีตสมาชิกถาวร แทนที่โดยสาธารณรัฐประชาชนจีน
23   ญี่ปุ่น 1958 2023 เอเชีย-แปซิฟิก
22   บราซิล 1946 2023 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
18   อาร์เจนตินา 1948 2014 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
16   อินเดีย 1950 2022 เอเชีย-แปซิฟิก
14   โคลอมเบีย 1947 2012 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
14   ปากีสถาน 1952 2013 เอเชีย-แปซิฟิก
13   อิตาลี 1959 2017 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
12   เบลเยียม 1947 2020 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
12   แคนาดา 1948 2000 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
12   เยอรมนี 1977 2020 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ รวมถึง 4 ปี เมื่อครั้นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ประกอบด้วยเยอรมนีตะวันตกเท่านั้น (แต่ไม่รวม 2 ปี ของเยอรมนีตะวันออกตามรายการที่แสดงด้านล่างนี้)
11   โปแลนด์ 1946 2019 ยุโรปตะวันออก
10   ออสเตรเลีย 1946 2014 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
10   ชิลี 1952 2015 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
10   เนเธอร์แลนด์ 1946 2018 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
10   ไนจีเรีย 1966 2015 แอฟริกา
10   นอร์เวย์ 1949 2022 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
10   ปานามา 1958 2008 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
10   เปรู 1955 2019 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
10   สเปน 1969 2016 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
10   เวเนซุเอลา 1962 2016 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
9   อียิปต์ 1946 2017 แอฟริกา (อาหรับ) รวมถึง 2 ปีที่มีที่นั่งในนามสหสาธารณรัฐอาหรับ ซึ่งเป็นเวลากว่า 15 เดือน สหสาธารณรัฐอาหรับใช้ชื่ออียิปต์ในปัจจุบัน
9   เม็กซิโก 1946 2022 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
8   เดนมาร์ก 1953 2006 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
8   กาบอง 1978 2023 แอฟริกา
8   กานา 1962 2023 แอฟริกา
8   อินโดนีเซีย 1973 2020 เอเชีย-แปซิฟิก
8   สวีเดน 1957 2018 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
8   ยูเครน 1948 2017 ยุโรปตะวันออก รวมถึง 4 ปี ที่เป็นสมาชิกในนาม   สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนที่นั่งของตัวเองในสมัชชาใหญ่ ในขณะที่เป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตในช่วง 46 ปี ของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
8   ตูนิเซีย 1959 2021 แอฟริกา
7   เอกวาดอร์ 1950 2023 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
7   ไอร์แลนด์ 1962 2022 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
7   มาเลเซีย 1965 2016 เอเชีย-แปซิฟิก
7   นิวซีแลนด์ 1954 2016 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
7   โรมาเนีย 1962 2005 ยุโรปตะวันออก
7   ตุรกี 1951 2010 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
7   ยูโกสลาเวีย 1950 1989 ยุโรปตะวันออก แทนที่โดย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, โครเอเชีย, มอนเตเนโกร, มาซิโดเนียเหนือ, เซอร์เบีย, และสโลวีเนีย
6   แอลจีเรีย 1968 2005 แอฟริกา (อาหรับ)
6   ออสเตรีย 1973 2010 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
6   โบลิเวีย 1964 2018 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
6   บัลแกเรีย 1966 2003 ยุโรปตะวันออก
6   คอสตาริกา 1974 2009 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
6   คิวบา 1949 1991 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
6   เอธิโอเปีย 1967 2018 แอฟริกา
6   โกตดิวัวร์ 1964 2019 แอฟริกา
6   จอร์แดน 1965 2015 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
6   เคนยา 1973 2022 แอฟริกา
6   โมร็อกโก 1963 2013 แอฟริกา (อาหรับ)
6   ฟิลิปปินส์ 1957 2005 เอเชีย-แปซิฟิก
6   โปรตุเกส 1979 2012 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
6   เซเนกัล 1968 2017 แอฟริกา
6   แอฟริกาใต้ 2007 2020 แอฟริกา
6   ซีเรีย 1947 2003 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ) รวมถึงหนึ่งปี (ค.ศ. 1961) ในระหว่างที่สหสาธารณรัฐอาหรับเป็นสมาชิก เนื่องจากซีเรียเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพนั้น
6   แซมเบีย 1969 1988 แอฟริกา
5   ยูกันดา 1966 2010 แอฟริกา
4   แองโกลา 2003 2016 แอฟริกา
4   บังกลาเทศ 1979 2001 เอเชีย-แปซิฟิก
4   เบนิน 1976 2005 แอฟริกา
4   บูร์กินาฟาโซ 1984 2009 แอฟริกา สำหรับ 7 เดือนแรก ของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใน ค.ศ. 1984 เป็นที่รู้จักกันในนาม อัปเปอร์วอลตา
4   แคเมอรูน 1974 2003 แอฟริกา
4   ฟินแลนด์ 1969 1990 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
4   กรีซ 1952 2006 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
4   กินี 1972 2003 แอฟริกา
4   กายอานา 1975 1983 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
4   ฮังการี 1968 1993 ยุโรปตะวันออก
4   อิรัก 1957 1975 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
4   จาเมกา 1979 2001 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
4   คูเวต 1978 2019 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
4   เลบานอน 1953 2011 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
4   Libya 1976 2009 แอฟริกา (อาหรับ)
4   มาลี 1966 2001 แอฟริกา
4   มอริเชียส 1977 2002 แอฟริกา
4   เนปาล 1969 1989 เอเชีย-แปซิฟิก
4   นิการากัว 1970 1984 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
4   ไนเจอร์ 1980 2021 แอฟริกา
4   สาธารณรัฐคองโก 1986 2007 แอฟริกา
4   เกาหลีใต้ 1996 2014 เอเชีย-แปซิฟิก
4   รวันดา 1994 2014 แอฟริกา
4   แทนซาเนีย 1975 2006 แอฟริกา
4   โตโก 1982 2013 แอฟริกา
4   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1986 2023 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
4   อุรุกวัย 1965 2017 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
4   เวียดนาม 2008 2021 เอเชีย-แปซิฟิก
4   ซาอีร์ 1982 1991 แอฟริกา ปัจจุบันคือสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
4   ซิมบับเว 1983 1992 แอฟริกา
3   เชโกสโลวาเกีย 1964 1979 ยุโรปตะวันออก แทนที่โดย สาธารณรัฐเช็ก และสโลวาเกีย
3   มอลตา 1983 2023 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
2   แอลเบเนีย 2022 2023 ยุโรปตะวันออก
2   อาเซอร์ไบจาน 2012 2013 ยุโรปตะวันออก เป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตในช่วง 45 ปีของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
2   บาห์เรน 1998 1999 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
2   บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2010 2011 ยุโรปตะวันออก ยังเป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวียในช่วง 7 ปีของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
2   บอตสวานา 1995 1996 แอฟริกา
2   บุรุนดี 1970 1971 แอฟริกา
2   สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย 1974 1975 ยุโรปตะวันออก ปัจจุบันคือเบลารุส สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียมีที่นั่งของตัวเองในสมัชชาใหญ่ ในขณะที่เป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต ในระหว่าง 45 ปีของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
2   กาบูเวร์ดี 1992 1993 แอฟริกา
2   ซีลอน 1960 1961 เอเชีย-แปซิฟิก ปัจจุบันคือศรีลังกา
2   ชาด 2014 2015 แอฟริกา เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ระหว่าง ค.ศ. 1900 ถึง 11 สิงหาคม ค.ศ. 1960
2   โครเอเชีย 2008 2009 ยุโรปตะวันออก ยังเป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวียในช่วง 7 ปีของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
2   เช็กเกีย 1994 1995 ยุโรปตะวันออก ยังเป็นส่วนหนึ่งของเชโกสโลวาเกียในช่วง 3 ปีของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
2   จิบูตี 1993 1994 แอฟริกา
2   สาธารณรัฐโดมินิกัน 2019 2020 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
2   เยอรมนีตะวันออก 1980 1981 ยุโรปตะวันออก ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี ซึ่งเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง 5 ปีนับตั้งแต่มีการรวมอาณาเขตเดิมของเยอรมนีตะวันออก
2   เอสโตเนีย 2020 2021 ยุโรปตะวันออก เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต ระหว่าง ค.ศ. 1944 ถึง 20 สิงหาคม ค.ศ. 1991
2   อิเควทอเรียลกินี 2018 2019 แอฟริกา
2   แกมเบีย 1998 1999 แอฟริกา
2   กัวเตมาลา 2012 2013 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
2   กินี-บิสเซา 1996 1997 แอฟริกา
2   ฮอนดูรัส 1995 1996 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
2   อิหร่าน 1955 1956 เอเชีย-แปซิฟิก
2   คาซัคสถาน 2017 2018 เอเชีย-แปซิฟิก เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต ระหว่าง 26 เมษายน ค.ศ. 1920 ถึง 25 ธันวาคม ค.ศ. 1991
2   ลิทัวเนีย 2014 2015 ยุโรปตะวันออก เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต ระหว่าง 3 สิงหาคม ค.ศ. 1940 ถึง 11 มีนาคม ค.ศ. 1990
2   ลักเซมเบิร์ก 2013 2014 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
2   มาดากัสการ์ 1985 1986 แอฟริกา
2   มอริเตเนีย 1974 1975 แอฟริกา
2   นามิเบีย 1999 2000 แอฟริกา
2   โอมาน 1994 1995 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
2   ปารากวัย 1968 1969 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
2   กาตาร์ 2006 2007 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
2   เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 2020 2021 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน ประเทศที่เล็กที่สุดที่เคยดำรงตำแหน่งในคณะมนตรีความมั่นคง[2]
2   เซียร์ราลีโอน 1970 1971 แอฟริกา
2   สิงคโปร์ 2001 2002 เอเชีย-แปซิฟิก เคยเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซียเป็นเวลาหลายเดือนในปี ค.ศ. 1965 ในระหว่างที่เป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
2   สโลวาเกีย 2006 2007 ยุโรปตะวันออก ยังเป็นส่วนหนึ่งของเชโกสโลวาเกียในช่วง 3 ปีของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
2   สโลวีเนีย 1998 1999 ยุโรปตะวันออก ยังเป็นส่วนหนึ่งของเอสเอฟอาร์ ยูโกสลาเวียในช่วง 7 ปีของการเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคง
2   โซมาเลีย 1971 1972 แอฟริกา
2   ซูดาน 1972 1973 แอฟริกา (อาหรับ)
2   ไทย 1985 1986 เอเชีย-แปซิฟิก
2   ตรินิแดดและโตเบโก 1985 1986 ละตินอเมริกาและแคริบเบียน
2   สหสาธารณรัฐอาหรับ 1961 1962 แอฟริกา (อาหรับ)
1   โมซัมบิก 2023 2023 แอฟริกา
1   สวิตเซอร์แลนด์ 2023 2023 ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ
1   เยเมน 1990 1991 ฝ่ายที่ได้รับการเลือกตั้ง และเป็นคณะมนตรีความมั่นคงในช่วงห้าเดือนแรกของการเป็นสมาชิกเป็นเยเมนใต้ มีการรวมกันกับ เยเมนเหนือขึ้นในช่วงเวลาที่เป็นสมาชิก
1   เยเมนใต้ 1990 1990 เอเชีย-แปซิฟิก (อาหรับ)
1   ไลบีเรีย 1961 1961 แอฟริกา เป็นสมาชิกเพียงหนึ่งปี[a]

ประเทศที่ไม่เคยเป็นสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ แก้

 
รัฐสมาชิกสหประชาชาติที่ไม่เคยเป็นสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจนถึงเดือนมกราคม 2566
  แสดงถึงอดีตสมาชิกสหประชาชาติ
UN Member state Regional Group Security Council membership as part of another entity
  Afghanistan Asia-Pacific
  อันดอร์รา WEOG
  แอนทีกาและบาร์บิวดา GRULAC Was a colony of the United Kingdom from 1632 to 1 November 1981
  อาร์มีเนีย E. European Was part of the Soviet Union from 29 November 1920 to 25 December 1991
  บาฮามาส GRULAC Was a colony of the United Kingdom from 1717 to 10 July 1973
  บาร์เบโดส GRULAC Was a colony of the United Kingdom from 1625 to 30 November 1966
  เบลีซ GRULAC Was a colony of the United Kingdom from 1862 to 21 September 1981
  ภูฏาน Asia-Pacific
  บรูไน Asia-Pacific Was a protectorate of the United Kingdom from 1888 to 1984
  กัมพูชา Asia-Pacific Was a colony of France from 1863 to 9 November 1953
  สาธารณรัฐแอฟริกากลาง African Was a colony of France from 1894 to 13 August 1960
  คอโมโรส African Was a colony of France from 1841 to 6 July 1975
  ไซปรัส Asia-Pacific Was a colony of the United Kingdom from 5 November 1914 to 16 August 1960
  ดอมินีกา GRULAC Was a colony of the United Kingdom from 1783 to 3 November 1978
  เอลซัลวาดอร์ GRULAC
  เอริเทรีย African Was under the administration of the United Kingdom from 1941 to 1947, then a United Nations Trust Territory from 1947 to 1952, then part of Ethiopia from 1952 to 24 May 1993
  เอสวาตินี African Was a colony of the United Kingdom from 1902 to 6 September 1968
  ฟีจี Asia-Pacific Was a colony of the United Kingdom from 1874 to 10 October 1970
  จอร์เจีย E. European Was part of the Soviet Union from 25 February 1921 to 25 December 1991
  กรีเนดา GRULAC Was a colony of the United Kingdom from 1763 to 7 February 1974
  เฮติ GRULAC
  ไอซ์แลนด์ WEOG
  อิสราเอล None / WEOG[b] Part of a League of Nations mandate under United Kingdom administration from 25 April 1920 to 14 May 1948
  คิริบาส Asian / None[c] Was a colony of the United Kingdom from 1892 to 12 July 1979
  เกาหลีเหนือ Asia-Pacific
  คีร์กีซสถาน Asia-Pacific Was part of the Soviet Union from 1 February 1926 to 25 December 1991
  ลาว Asia-Pacific Was a colony of France from 1893 to 19 July 1949
  ลัตเวีย E. European Part of the Soviet Union from September 1944 to 21 August 1991
  เลโซโท African Was a colony of the United Kingdom from 1884 to 4 October 1966
  ลีชเทินชไตน์ WEOG
  มาลาวี African Was a colony of the United Kingdom from 1891 to 6 July 1964
  มัลดีฟส์ Asia-Pacific Was a colony of the United Kingdom from 1887 to 26 July 1965
  หมู่เกาะมาร์แชลล์ Asia-Pacific Was part of the United Nations Trust Territory of the Pacific Islands under the administration of the United States from 17 July 1947 to 21 October 1986
  ไมโครนีเชีย Asia-Pacific Was part of the United Nations Trust Territory of the Pacific Islands under the administration of the United States from 17 July 1947 to 3 November 1986
  มอลโดวา E. European Was part of the Soviet Union from 28 June 1940 to 25 December 1991
  โมนาโก WEOG
  มองโกเลีย Asia-Pacific
  มอนเตเนโกร E. European Was part of Yugoslavia from 29 November 1943 to 28 April 1992[d]
  พม่า Asia-Pacific Was a colony of the United Kingdom from 1824 to 4 January 1948
  นาอูรู Asia-Pacific Was a United Nations Trust Territory administered by the United Kingdom, Australia, and New Zealand from 1 January 1946 to 31 January 1968
  มาซิโดเนียเหนือ E. European Was part of Yugoslavia from 29 November 1943 to 3 April 1993
  ปาเลา Asia-Pacific Was part of the United Nations Trust Territory of the Pacific Islands under the administration of the United States from 17 July 1947 to 1 October 1994
  ปาปัวนิวกินี Asia-Pacific Was administered by Australia in the case of the Territory of Papua from 1905, the Territory of New Guinea as a League of Nations mandate from 1919 and as a unified Territory of Papua and New Guinea from 1949 until 16 September 1975
  เซนต์คิตส์และเนวิส GRULAC Was a colony of the United Kingdom from 1713 to 19 September 1983
  เซนต์ลูเชีย GRULAC Was a colony of the United Kingdom from 1803 to 22 February 1979
  ซามัว Asia-Pacific Was a League of Nations mandate under the administration of New Zealand from 17 December 1920 to 25 January 1947, then a United Nations Trust Territory under the administration of New Zealand from 25 January 1947 to 1 January 1962
  ซานมารีโน WEOG
  เซาตูแมอีปริงซีป African Was a colony of Portugal until 12 July 1975
  ซาอุดีอาระเบีย Asia-Pacific Saudi Arabia was elected in the 2013 election, but declined the seat.[4]
  เซอร์เบีย E. European Was part of Yugoslavia from 31 January 1946 to 27 April 1992[e]
  FR Yugoslavia / Serbia and Montenegro E. European Was part of Yugoslavia from 29 November 1943 to 27 April 1992
  เซเชลส์ African Was a colony of the United Kingdom from 1801 to 29 June 1976
  หมู่เกาะโซโลมอน Asia-Pacific Was a colony of the United Kingdom from 1893 to 7 July 1978
  ซูดานใต้ African Was part of Anglo-Egyptian Sudan, a condominium of the United Kingdom and Egypt until 1 January 1956, then part of Sudan from 1 January 1956 to 9 July 2011
  ซูรินาม GRULAC Was a colony of the Netherlands from 1667 to 25 November 1975
  ทาจิกิสถาน Asia-Pacific Was part of the Soviet Union from 14 October 1924 to 25 December 1991
  แทนกันยีกา Commonwealth Seat Was a League of Nations mandate under the administration of the United Kingdom from 20 July 1922 to 11 December 1946, then a United Nations Trust Territory under the administration of the United Kingdom until 9 December 1962, then independent until federation with Zanzibar to form Tanzania
  ติมอร์-เลสเต Asia-Pacific Was occupied by Indonesia from 7 December 1975 to 31 October 1999
  ตองงา Asia-Pacific Was a protectorate of the United Kingdom from 18 May 1900 to 4 June 1970
  เติร์กเมนิสถาน Asia-Pacific Was part of the Soviet Union from 13 May 1925 to 8 December 1991
  ตูวาลู Asia-Pacific Was a colony of the United Kingdom from 1892 to 1 October 1978
  อุซเบกิสถาน Asia-Pacific Was part of the Soviet Union from 13 May 1925 to 25 December 1991
  วานูวาตู Asia-Pacific Was a Condominium under joint sovereignty of the United Kingdom and France from 1906 to 30 July 1980
  แซนซิบาร์ Commonwealth Seat Was a colony of the United Kingdom from 27 August 1896 to 10 December 1963, then independent until federation with Tanganyika to form Tanzania on 26 April 1964.

ดูเพิ่ม แก้

ข้อมูล แก้

  1. ไลบีเรียลาออกหลังจากหนึ่งปีตามข้อตกลงในการประชุมสมัยที่ 15 ไอร์แลนด์ได้รับเลือกในช่วงที่เหลือของวาระสองปี[3]
  2. Not a member of any regional group until joining the WEOG in 2000. Crossette, Barbara (3 December 1999). "Membership in Key Group Within U.N. Eludes Israel". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 17 April 2011.
  3. As of May 2006, Kiribati is not a member of any regional group.
  4. Montenegro was also part of FR Yugoslavia and of Serbia and Montenegro from 27 April 1992 to 5 June 2006, but these entities were not members of the Security Council.
  5. Serbia was also part of FR Yugoslavia and of Serbia and Montenegro from 27 April 1992 to 5 June 2006, but these entities were not members of the Security Council.

อ้างอิง แก้

  1. "Italy, Netherlands ask to share Security Council seat". Al Jazeera. June 28, 2016. สืบค้นเมื่อ January 1, 2017.
  2. St. Vincent and the Grenadines breaks a record, as smallest ever Security Council seat holder, UN News
  3. Commonwealth Bureau of Census and Statistics. Official Year Book of the Commonwealth of Australia No. 47 – 1961. Aust. Bureau of Statistics. p. 1143. GGKEY:5SX8QTW3P5T. สืบค้นเมื่อ 21 August 2012.
  4. United Nations, General Assembly, Letter dated 12 November 2013 from the Permanent Representative of Saudi Arabia to the United Nations addressed to the Secretary-General, A/68/599 (14 November 2013), available from undocs.org/A/68/599


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน