รายชื่อวิดีโอเกมโปเกมอน

โปเกมอน เป็นวิดีโอเกมชุดประเภทสวมบทบาท ที่พัฒนาโดยเกมฟรีก จัดจำหน่ายโดยนินเท็นโดและบริษัท โปเกมอน จำกัด นานนับปีเกมภาคแยกที่อิงตามเกมภาคหลักได้รับการพัฒนาโดยหลายบริษัทและในขณะที่เกมภาคหลักเป็นเกมประเภทสวมบทบาทภาคแยกนั้นจะครอบคลุมเกมประเภทอื่น ๆ เช่น เกมแอ็กชันสวมบทบาท, เกมปริศนา, เกมต่อสู้, และเกมสัตว์เลี้ยงดิจิทัล เกมโปเกมอนส่วนใหญ่จะได้รับการพัฒนาลงเครื่องเล่นเกมพกพาของนินเท็นโดและเกมภาคแยกล่าสุดจะได้รับการพัฒนาลงเกมมือถือในระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์และไอโอเอส

โลโก้อย่างเป็นทางการของโปเกมอนที่เปิดตัวในระดับสากล "โปเกมอน" เป็นชื่อย่อที่มาจากภาษาญี่ปุ่นดั้งเดิม "พ็อกเก็ตมอนสเตอร์"

เกมภาคหลัก

แก้
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2539 – เกมบอย[1]
พ.ศ.2559 – 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล[2]
หมายเหตุ:
  • เป็นเกมแรกในเกมชุดโปเกมอน
  • เปิดตัวรุ่นที่หนึ่งของโปเกมอน
  • พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ เรด และ กรีน ถูกจัดจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น
  • เรด, กรีน และ บลู รวมกันแล้วมียอดขายมากกว่าเกมอื่น ๆ ของเครื่องเกมบอย ยกเว้นเตตริส[3]
  • ภาคสร้างใหม่ของ เรด และ กรีน ที่เรียกว่าโปเกมอน ไฟร์เรด และ ลีฟกรีน ได้ถูกวางจำหน่ายใน พ.ศ. 2547 สำหรับเครื่องเกมบอยอัดวานซ์
  • เรด และ กรีน ได้ถูกวางจำหน่ายครั้งใหม่บนนินเท็นโด 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล ใน พ.ศ. 2559



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 15 ตุลาคม พ.ศ. 2539
(โคโรโคโรคอมมิก)
  • JP: 10 ตุลาคม พ.ศ. 2542
(ขายปลีก)
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2539 – เกมบอย (โคโรโคโรคอมมิก)
พ.ศ.2542 - เกมบอย (ขายปลีก)
พ.ศ.2559 – 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:
  • พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ บลู ได้ถูกจัดจำหน่ายใน 8 เดือนให้หลังจากภาค เรด และ กรีน พร้อมกับยกระดับภาพกราฟิกส์และบทสนทนาที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น
  • เป็นรากฐานสำหรับฉบับสากล โปเกมอน เรด และ บลู ซึ่งถูกจัดจำหน่ายใน 2 ปีต่อมา
  • เรด, กรีน และ บลู รวมกันแล้วมียอดขายมากกว่าเกมอื่น ๆ ของเครื่องเกมบอย ยกเว้นเตตริส[3]
  • บลู ได้ถูกวางจำหน่ายครั้งใหม่บนนินเท็นโด 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล ใน พ.ศ. 2559.



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • NA: 28 กันยายน พ.ศ. 2541
  • AU: 23 ตุลาคม พ.ศ. 2541
  • EU: 5 ตุลาคม พ.ศ. 2542
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2541 – เกมบอย
พ.ศ.2559 – 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:
  • เป็นการเปิดตัวในระดับสากลครั้งแรกของแฟรนไชส์ โปเกมอน และชุดวิดีโอเกม
  • โปเกมอนที่จะปรากฏตัวเฉพาะในแต่ละภาคจะเหมือน เรด และ กรีน และการยกระดับตัวเกมจะมาจาก บลู
  • เรด, กรีน และ บลู รวมกันแล้วมียอดขายมากกว่าเกมอื่น ๆ ของเครื่องเกมบอย ยกเว้นเตตริส[3]
  • เรด และ บลู ได้ถูกวางจำหน่ายครั้งใหม่บนนินเท็นโด 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล ใน พ.ศ. 2559.



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 12 กันยายน พ.ศ. 2541
  • NA: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2542
  • AU: 3 กันยายน พ.ศ. 2542
  • EU: 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2541 – เกมบอย
พ.ศ.2559 – 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล[4]
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ พิคาชู.[a]
  • เป็นเกมแรกในเกมชุดโปเกมอนที่มีโปเกมอนติดตามผู้เล่นในโลกกว้างเช่นพิคาชู จะติดตามผู้เล่นตลอดซึ่งจะไม่อยู่ในมอนสเตอร์บอล
  • เป็นภาคที่เหนือกว่าของโปเกมอน เรด และ บลู
  • เยลโลว์ ได้ถูกวางจำหน่ายครั้งใหม่บนนินเท็นโด 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล ใน พ.ศ. 2559.



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542[5]
  • AU: 13 ตุลาคม พ.ศ. 2543
  • NA: 15 ตุลาคม พ.ศ. 2543[5]
  • EU: 6 เมษายน พ.ศ. 2544[6][7]
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2542 – เกมบอยคัลเลอร์[5]
พ.ศ.2560 – 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ คิน[b] และ พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ กิน.[c]
  • เป็นเกมเปิดตัวรุ่นที่สองของโปเกมอน
  • เป็นเกมที่เป็นผลมาจากความสำเร็จของรุ่นที่หนึ่งซึ่งถูกสร้างขึ้นในสามปีให้หลังหลังจาก เรด และ กรีน
  • เป็นเกมที่เคยใช้ตลับเกมบอย แต่ถูกบรรจุเป็นเกมของเครื่องเกมบอยคัลเลอร์[ต้องการอ้างอิง]
  • ภาคสร้างใหม่ของ โกลด์ และ ซิลเวอร์ ที่เรียกว่า โปเกมอน ฮาร์ดโกลด์ และ โซลซิลเวอร์ ได้ออกวางจำหน่ายใน พ.ศ. 2552 สำหรับเครื่องนินเท็นโด ดีเอส.
  • โกลด์ และ ซิลเวอร์ ได้ถูกวางจำหน่ายครั้งใหม่บนนินเท็นโด 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล ใน พ.ศ. 2560.
  • เป็นครั้งแรกที่เกมโปเกมอนได้ถูกวางจำหน่ายในประเทศเกาหลีใน พ.ศ. 2545



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[8]
  • JP: 14 ธันวาคม พ.ศ. 2543
  • NA: 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2544
  • AU: 30 กันยายน พ.ศ. 2544
  • EU: 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2543 – เกมบอยคัลเลอร์[8]
พ.ศ.2561 – 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ คริสตัล.[d]
  • เป็นเกมชุดหลักเกมแรกที่มีตัวละครเพศหญิงที่สามารถเล่นได้
  • เป็นภาคที่เหนือกว่าของโปเกมอน โกลด์ และ ซิลเวอร์
  • คริสตัล ได้ออกวางจำหน่ายครั้งใหม่บนนินเท็นโด 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล ใน พ.ศ. 2561.



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[9]
  • JP: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
  • NA: 19 มีนาคม พ.ศ. 2546
  • AU: 3 เมษายน พ.ศ. 2546
  • EU: 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2546
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2545 – เกมบอยอัดวานซ์[9]
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ รูบี[e] และ พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ แซฟไฟร์.[f][10]
  • เป็นเกมเปิดตัวรุ่นที่สามของโปเกมอน[11]
  • ภาคสร้างใหม่ของ รูบี และ แซฟไฟร์ ที่เรียกว่า โปเกมอน โอเมการูบี และ แอลฟาแซฟไฟร์ ได้ถูกจัดจำหน่ายใน พ.ศ. 2557 สำหรับเครื่อง นินเท็นโด 3ดีเอส[12]
  • รูบี และ แซฟไฟร์ รวมกันแล้วมียอดขายมากกว่าเกมอื่น ๆ ของเครื่องเกมบอยอัดวานซ์[13]
  • เป็นเกมชุดหลักเกมแรกที่จัดจำหน่ายโดยบริษัท โปเกมอน จำกัด ด้วยกันกับนินเท็นโด ซึ่งบริษัท โปเกมอน จำกัดถูกสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2541



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[14]
  • JP: 29 มกราคม พ.ศ. 2547
  • NA: 9 กันยายน พ.ศ. 2547
  • AU: 23 กันยายน พ.ศ. 2547
  • EU: 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2547 – เกมบอยอัดวานซ์[14]
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ ไฟร์เรด[g] และ พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ ลีฟกรีน.[h][15]
  • เป็นภาคสร้างใหม่ของ โปเกมอน เรด และ กรีน



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 16 กันยายน พ.ศ. 2547
  • NA: 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2548
  • AU: 9 มิถุนายน พ.ศ. 2548
  • EU: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2548
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2547 – เกมบอยอัดวานซ์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 28 กันยายน พ.ศ. 2549
  • NA: 22 เมษายน พ.ศ. 2550
  • AU: 21 มิถุนายน พ.ศ. 2550
  • EU: 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2549 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ ไดมอนด์[i] และ พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ เพิร์ล.[j][16]
  • เป็นเกมเปิดตัวรุ่นที่สี่ของโปเกมอน



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 13 กันยายน พ.ศ. 2551
  • NA: 22 มีนาคม พ.ศ. 2552
  • EU: 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
  • AU: 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2551 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 12 กันยายน พ.ศ. 2552
  • NA: 14 มีนาคม พ.ศ. 2553
  • AU: 25 มีนาคม พ.ศ. 2553
  • EU: 26 มีนาคม พ.ศ. 2553
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2552 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 18 กันยายน พ.ศ. 2553
  • EU: 4 มีนาคม พ.ศ. 2554
  • NA: 6 มีนาคม พ.ศ. 2554
  • AU: 10 มีนาคม พ.ศ. 2554
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2553 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ แบล็ก[m] และ พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ ไวต์.[n]
  • เป็นเกมเปิดตัวรุ่นที่ห้า



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555
  • NA: 7 ตุลาคม พ.ศ. 2555
  • AU: 11 ตุลาคม พ.ศ. 2555
  • EU: 12 ตุลาคม พ.ศ. 2555
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2555 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:
  • เป็นภาคต่อของ โปเกมอน แบล็ก และ ไวต์ ใช้แผนที่โลกเดียวกันแต่เพิ่มสถานที่และการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในอีกสองปีต่อมาหลังจากเหตุการณ์ของ แบล็ก และ ไวต์



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[17]
  • ทั่วโลก: 12 ตุลาคม พ.ศ. 2556
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2556 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:
  • เป็นเกมเปิดตัวรุ่นที่หกของโปเกมอน
  • เป็นเกมโปเกมอนเกมแรกที่ถูกจัดจำหน่ายทั่วโลกพร้อมกัน
  • เกมแรกในชุดหลักที่มีภาพกราฟิกส์สามมิติ
  • เป็นเกมโปเกมอนเกมแรกที่อนุญาตให้ปรับแต่งเทรนเนอร์ได้
  • เปิดตัววิวัฒนาการร่างเมกา



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[18]
  • NA: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
  • JP: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
  • EU: 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
  • AU: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2557 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[19]
  • NA: 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
  • JP: 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
  • EU: 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
  • AU: 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2559 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ ซัน[o] และ พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ มูน[p]
  • เป็นเกมเปิดตัวรุ่นที่เจ็ดของโปเกมอน
  • เป็นเกมแรกที่ถูกวางจำหน่ายในประเทศจีนและสนับสนุนภาษาจีน
  • เปิดตัวท่าไม้ตายแซด



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[20]
  • ทั่วโลก: 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2560 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:
  • เป็นภาคที่เหนือกว่าของ โปเกมอน ซัน และ มูน.
  • เป็นเกมแรกที่เปิดตัวโปเกมอนสายพันธุ์ใหม่กลางรุ่น



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[21][22][23]
  • ทั่วโลก: 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2561 – นินเท็นโด สวิตช์
หมายเหตุ:
  • เป็นภาคสร้างใหม่ของโปเกมอน เยลโลว์
  • นำเสนอแนวคิดเก่าที่ว่าโปเกมอนจะสามารถติดตามผู้เล่นในโลกกว้างที่เห็นครั้งแรกใน โปเกมอน เยลโลว์ โดยมีอีวุยหรือพิคาชูนั่งอยู่บนไหล่ของผู้เล่นตัวละครและสามารถเลือกให้โปเกมอนติดตามผู้เล่น



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • ทั่วโลก: 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2562 – นินเท็นโด สวิตช์
หมายเหตุ:


เกมภาคแยก

แก้

เกมชุดสเตเดียม

แก้
ชื่อ รายละเอียด
พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ สเตเดียม

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[24]
  • JP: 1 สิงหาคม พ.ศ. 2541
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2541 – นินเท็นโด 64
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[25]
  • JP: 30 เมษายน พ.ศ. 2542
  • NA: 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543
  • AU: 13 มีนาคม พ.ศ. 25430
  • EU: 7 เมษายน พ.ศ. 2543
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2542 – นินเท็นโด 64
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยนินเท็นโด อีเอดี
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า โปเกมอน สเตเดียม 2[q] และ พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ สเตเดียม 2[26]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[27]
  • JP: 14 ธันวาคม พ.ศ. 2543
  • NA: 28 มีนาคม พ.ศ. 2544
  • EU: 10 ตุลาคม พ.ศ. 2544
  • AU: พ.ศ.2544
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2543 – นินเท็นโด 64
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยนินเท็นโด อีเอดี
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า โปเกมอน สเตเดียม คินกิน[r] และ พ็อกเก็ตมอนสเตอร์ สเตเดียม คินกิน.[28]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[29]
  • JP: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546
  • NA: 24 มีนาคม พ.ศ. 2547
  • EU: 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2546 – เกมคิวบ์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[30]
  • JP: 4 สิงหาคม พ.ศ. 2548
  • NA: 3 ตุลาคม พ.ศ. 2548
  • AU: 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548
  • EU: 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2548 – เกมคิวบ์
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยจีเนียสโซโนริตี
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า โปเกมอน เอกซ์ดี ยามิ โนะ คาเซะ ดาร์กลูเกีย[s]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[31]
  • JP: 14 ธันวาคม พ.ศ. 2549
  • NA: 25 มิถุนายน พ.ศ. 2550
  • AU: 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
  • EU: 7 ธันวาคม พ.ศ. 2550
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2549 – วี
หมายเหตุ:


เกมชุดเทรดดิงการ์ดเกม

แก้
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[32]
  • JP: 18 ธันวาคม พ.ศ. 2541
  • NA: 10 เมษายน พ.ศ. 2543
  • AU: 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
  • EU: 15 ธันวาคม พ.ศ. 2543
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2541 – เกมบอยคัลเลอร์
2014 – 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[33]
  • EU: ธันวาคม พ.ศ. 2542
  • NA: กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2542 – วินโดวส์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[34]
  • EU: 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543
  • NA: 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2543 – วินโดวส์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[35]
  • JP: 28 มีนาคม พ.ศ. 2544
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2544 – เกมบอยคัลเลอร์
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยฮัดสัน ซอฟท์
  • วางจัดจำหน่ายที่ประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น


เกมชุดพินบอล

แก้
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[36]
  • JP: 14 เมษายน พ.ศ. 2542
  • NA: 28 มิถุนายน พ.ศ. 2542
  • AU: 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2542
  • EU: 6 ตุลาคม พ.ศ. 2543
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2542 – เกมบอยคัลเลอร์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[37]
  • JP: 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546
  • NA: 25 สิงหาคม พ.ศ. 2546
  • EU: 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546
  • AU: 36 กันยายน พ.ศ. 2546
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2546 – เกมบอยอัดวานซ์
พ.ศ.2558 – วียู เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:


เกมชุดมิสทะรีดันเจียน

แก้
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[38][39]
  • JP: 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548
  • NA: 18 กันยายน พ.ศ. 2549
  • AU: 28 กันยายน พ.ศ. 2549
  • EU: 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2548 – เกมบอยอัดวานซ์, นินเท็นโด ดีเอส
พ.ศ.2559 – วียู เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:
  • วางจำหน่ายใน 2 แพลตฟอร์ม
  • บลูเรสคิวทีม วางจำหน่ายบนเครื่องนินเท็นโด ดีเอส
  • เรดเรสคิวทีม วางจำหน่ายบนเครื่องเกมบอยอัดวานซ์
  • พัฒนาโดยชุนซอฟท์
  • แปลเป็นไทยว่า โปเกมอน ดันเจียนมหัศจรรย์ ทีมกู้ภัยสีฟ้าและทีมกู้ภัยสีแดง



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[40][41]
  • JP: 13 กันยายน พ.ศ. 2550
  • NA: 20 เมษายน พ.ศ. 2551
  • EU: 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
  • AU: 19 มิถุนายน พ.ศ. 2551
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2550 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยชุนซอฟท์
  • แปลเป็นไทยว่าโปเกมอน ดันเจียนมหัศจรรย์ นักสำรวจแห่งกาลเวลาและนักสำรวจแห่งความมืด



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[42]
  • JP: 18 เมษายน พ.ศ. 2552
  • NA: 12 ตุลาคม พ.ศ. 2552
  • EU: 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
  • AU: 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2552 – นินเท็นโด ดีเอส
พ.ศ.2559 – วียู เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:
  • เป็นภาคสร้างใหม่ของ โปเกมอน มิสทะรีดันเจียน เอกซ์พลอเรอส์ออฟไทม์ และ เอกซ์พลอเรอส์ออฟดาร์กเนส
  • พัฒนาโดยชุนซอฟท์
  • แปลเป็นไทยว่าโปเกมอน ดันเจียนมหัศจรรย์ นักสำรวจแห่งท้องฟ้า



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[43]
  • JP: 4 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2552 – วีแวร์
หมายเหตุ:
  • เป็นครั้งแรกของ โปเกมอนมิสทะรีดันเจียน ที่จัดจำหน่ายบนเครื่องเล่นเกมภายในบ้าน
  • พัฒนาโดยชุนซอฟท์
  • วางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น
  • แปลเป็นไทยว่าโปเกมอน ดันเจียนมหัศจรรย์ ทำต่อไป! กลุ่มผจญภัยแห่งไฟ!, ไปกันเถอะ! กลุ่มผจญภัยแห่งพายุ!, และ ไปลุยกัน! กลุ่มผจญภัยแห่งแสง!



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[44]
  • JP: 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
  • NA: 24 มีนาคม พ.ศ. 2556
  • EU: 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
  • AU: 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2555 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:
  • เป็นครั้งแรกของ โปเกมอนมิสทะรีดันเจียน ที่จัดจำหน่ายบนเครื่อง นินเท็นโด 3ดีเอส.
  • พัฒนาโดยสไปค์ชุนซอฟท์
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า โปเกมอน ฟูชิกิ โนะ ดันโจ แม็กนาเกต โตะ ∞ เมคิว (โปเกมอน ดันเจียนมหัศจรรย์ แม็กนาเกตและเขาวงกตไม่มีที่สิ้นสุด)[u]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[45]
  • JP: 17 กันยายน พ.ศ. 2558
  • NA: 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
  • EU: 19 มกราคม พ.ศ. 2559
  • AU: 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2558 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:
  • เป็นครั้งแรกของ โปเกมอน มิสทะรีดันเจียน ที่มีโปเกมอนรวมทั้งหมด 720 สายพันธ์ุ
  • พัฒนาโดยสไปค์ชุนซอฟท์



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • ทั่วโลก: 6 มีนาคม พ.ศ. 2563
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2563 – นินเท็นโด สวิตช์
หมายเหตุ:


เกมชุดเรนเจอร์

แก้
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[46]
  • JP: 23 มีนาคม พ.ศ. 2549
  • NA: 30 ตุลาคม พ.ศ. 2549
  • AU: 7 ธันวาคม พ.ศ. 2549
  • EU: 13 เมษายน พ.ศ. 2550
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2549 – นินเท็นโด ดีเอส
พ.ศ.2559 – วียู เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[47]
  • JP: 20 มีนาคม พ.ศ. 2551
  • NA: 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
  • AU: 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
  • EU: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2551 – นินเท็นโด ดีเอส
พ.ศ.2559 – วียู เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยครีเซอส์
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า โปเกมอน เรนเจอร์ บาโตนาจิ[v]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[48]
  • JP: 6 มีนาคม พ.ศ. 2553
  • NA: 4 ตุลาคม พ.ศ. 2553
  • EU: 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
  • AU: 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2553 – นินเท็นโด ดีเอส
พ.ศ.2559 – วียู เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยครีเซอส์
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า โปเกมอน เรนเจอร์ ฮิคาริ โนะ คิเซกิ (โปเกมอน เรนเจอร์ ร่องรอยของแสง)[w]


เกมชุดรัมเบิล

แก้
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 16 มิถุนายน พ.ศ. 2552
  • NA: 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
  • EU: 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2552 – วีแวร์
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า รันเซ็น! โปเกมอน สแครมเบิล[x]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 11 สิงหาคม พ.ศ. 2554
  • NA: 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554
  • EU: 2 ธันวาคม พ.ศ. 2554
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2554 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า ซูเปอร์ โปเกมอน สแครมเบิล และรู้จักในภูมิภาคแพลว่า ซูเปอร์ โปเกมอน รัมเบิล
  • เป็นภาคต่อของ โปเกมอน รัมเบิล



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[49]
  • JP: 24 เมษายน พ.ศ. 2556
  • PAL: 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556
  • NA: 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2556 – วียู
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[50]
  • ทั่วโลก: 8 เมษายน พ.ศ. 2558
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2558 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า มินนะ โนะ โปเกมอน สแครมเบิล (โปเกมอน สแครมเบิลของทุกคน)[y]
  • เป็นภาคต่อของ โปเกมอน รัมเบิลยู



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • AU: 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
  • ทั่วโลก: 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2562 – แอนดรอยด์, ไอโอเอส
หมายเหตุ:
  • ปล่อยให้เล่นครั้งแรกที่ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
  • รู้จักในประเทศญี่ปุ่นว่า โปเกมอน สแครมเบิล SP[z]


แอปส์มือถือ

แก้

โปเกเดกซ์ สามมิติ และ โปเกเดกซ์ สามมิติโปร

แก้

โปเกเดกซ์ สามมิติ เป็นซอฟต์แวร์ที่ปล่อยให้ดาวน์โหลดผ่านนินเท็นโด อีชอป ซึ่งเป็นโปเกเดซ์ที่จะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโปเกมอนจากภาค แบล็ก และ ไวต์ ในแบบสามมิติ โดยจะมีโปเกมอนอยู่บางสายพันธุ๋เท่านั้น แต่ผู้ใช้สามารถปลดล็อกโปเกมอนบางสายพันธุ๋ได้หลายวิธีเช่น สตรีทพาส, การ์ดความเป็นจริงเสริม, และสปอตพาส[51][52]

ในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2555 นินเท็นโดได้ประกาศว่าจะมีรุ่นเนชันแนลโปเกเดกซ์ ที่เรียกว่า โปเกเดกซ์ สามมิติโปร เผยแพร่ครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่นผ่านนินเท็นโด อีชอป ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2555 และวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ในระดับสากล ซึ่งจะไม่เหมือนกับแอปรุ่นดั้งเดิม รุ่น โปร จะไม่ฟรี และโปเกมอนจะมีพร้อมอยู่แล้วทั้งหมดโดยไม่ต้องไปปลดล็อก นอกจากนี้ยังมีเพลงประกอบ, โหมดใหม่, เพิ่มฉากและภาพพื้นหลัง และมีเสียงเรียกชื่อโปเกมอนทุกตัว รุ่น โปร จะแทนที่ แอปรุ่นฟรี ซึ่งจะถูกนำออกจากนินเท็นโด อีชอปในวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2555 ที่ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2555 ในระดับสากล และได้มีการปล่อยตัวซอฟต์แวร์ลงไปแพลตฟอร์มไอโอเอสในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

โปเกมอน แบงก์

แก้

โปเกมอน แบงก์ เป็นแอปมือถือที่อยู่ในนินเท็นโด อีชอปได้รับการเผยแพร่ที่ประเทศญี่ปุ่น, ประเทศเกาหลี, และใต้หวัน ในวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2557, ทวีปยุโรป, ประเทศออสเตรเลีย, และประเทศนิวซีแลนด์ ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557, และที่ทวีปอเมริกาเหนือและใต้ ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 โปรแกรมประยุกต์นี้เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลออนไลน์ ที่ต้องใช้การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วคงที่ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้ฟรี แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเล็กน้อยแบบรายปีสำหรับการเข้าถึงเพื่อที่จะให้ตัวบริการดำเนินการต่อไปได้ โปรแกรมประยุกต์นี้สามารถทำงานร่วมกับ โปเกมอน เอกซ์, โปเกมอน วาย, โปเกมอน โอเมการูบี, โปเกมอน แอลฟาแซฟไฟร์, โปเกมอน ซัน, โปเกมอน มูน, และเกมที่มีระบบจัดเก็บโปเกมอนที่เป็นเหมือนธนาคารออนไลน์ ซึ่งจะอนุญาตให้ผู้เล่นจัดเก็บโปเกมอนได้ถึง 3000 สายพันธ์ุ แต่โปเกมอนที่ถือผลเบอร์รี, ไอเทม และหลากหลายคอสเพลย์ของพิคาชูจะไม่สามารถจัดเก็บได้[53]

โปเกมอน โก

แก้

โปเกมอน โก เป็นเกมมือถือที่ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมได้รับการเผยแพร่ในเดือนที่ กรกฎาคม พ.ศ. 2559 สำหรับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์และไอโอเอส ในตัวเกมจะมีการใช้ระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลกเพื่อค้นหาและจับโปเกมอนในเวลาจริง ระบบจะวางยิมและโปเกสตอปในสถานที่ต่างๆที่กำหนดไว้ให้ (เช่น หลักเขตที่ดิน) ทั่วโลกเพื่อให้ผู้เล่นใช้งานได้และกลายเป็นโปเกมอนเทรนเนอร์ในชีวิตจริง โปเกมอนจะเกิดแบบสุ่มตามสถานที่โดยมีเงื่อนไขบางอย่างเช่น โปเกมอนกลางคืนลูนาโทนจะเกิดในเวลากลางคืนเท่านั้น, คอยคิงจะเกิดใกล้น้ำ, เป็นต้น ตัวยิมจะใช้ในการแบตเทิลและฝึกโปเกมอนด้วยกันกับผู้เล่นอื่น ๆ ในพื้นที่ ซึ่งจะอยู่ใกล้เคียงกับโปเกสตอปที่จะให้ไอเทมฟรีเมื่อหมุน (มีคูลดาวน์ 5 นาทีต่อการใช้งาน) มีโปเกมอนดั้งเดิมอยู่ 151 สายพันธุ๋จากโปเกมอนรุ่นที่หนึ่ง โดยในเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 โปเกมอนรุ่นที่สองได้ถูกปล่อยออกมายกเว้นโปเกมอนในตำนานเช่น ซุยคูน, ไรโค, เอ็นเต, เซเลบี, ลูเกีย และโฮโอ จนถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2560 โปเกมอนในตำนานดังกล่าวได้ถูกปล่อยออกมา ในเดือน กันยายน พ.ศ. 2559 ไนแอนติกได้ปล่อยตัว โปเกมอน โก พลัส ในราคา 35 ดอลลาร์สหรัฐ 1077 ถ้าคิดเป็นเงินบาท เป็นสายรัดข้อมือที่สวมใส่ได้ซึ่งแจ้งเตือนเกี่ยวกับกิจกรรมในเกม รวมไปถึงการปรากฏตัวของโปเกมอนและโปเกสตอปที่อยู่ใกล้เคียง[54][55]

โปเกมอน ดูเอล

แก้

โปเกมอน ดูเอล เป็นเกมกระดานดิจิทัลที่ปล่อยให้ดาวน์โหลดบนแอปสโตร์และกูเกิล เพลย์ ในวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2560[56] โปเกมอน ดูเอล แต่เดิมถูกเรียกว่า โปเกมอน โคมาสเตอร์ ได้รับการพัฒนาร่วมกันกับฮีโรซเจแปน ที่เป็นบริษัทเชี่ยวชาญด้านปัญญาประดิษฐ์[57] ซึ่งดัดแปลงมาจากเกมกระดานที่เล่นในชีวิตจริงที่ชื่อโปเกมอน เทรดดิงฟิกเกอร์ ระบบการเล่นของเกมจะคล้ายกันโดยผู้เล่นสามารถขยับตัวโปเกมอนไปรอบฟิลด์ เมื่อโปเกมอนของผู้เล่นอยู่ใกล้ตัวโปเกมอนของคู่ต่อสู้ ตัวโปเกมอนของทั้งฝ่ายจะทำการต่อสู้กัน ในตัวเกมยังมีระบบที่สามารถเล่นคนเดียวกับปัญญาประดิษฐ์หรือแข่งขันกับผู้เล่นคนอื่นโดนตรง[58]

แคมป์โปเกมอน

แก้

แคมป์โปเกมอน รู้จักในชื่อว่า โปเกมอน แคมป์ ที่ทวีปยุโรป, ประเทศออสเตรเลีย, และประเทศนิวซีแลนด์ เป็นแอปฟรีที่ให้บริการโดยบริษัท โปเกมอน สากล จำกัด สำหรับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์และไอโอเอส มีจุดประสงค์เพื่อสอนเด็กเล็กพื้นฐานของโปเกมอนผ่านการโต้ตอบและความตลก เปิดให้เล่นครั้งแรกผ่านผู้ใช้ไอโอเอสในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2557 และปล่อยให้เล่นผ่านระบบปฏิบัติแอนดรอยด์ในวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2559

เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

แก้

โปเกมอน เทรดดิงการ์ดเกมออนไลน์

แก้

โปเกมอน เทรดดิงการ์ดเกมออนไลน์ เป็นฉบับดิจิทัลอย่างเป็นทางการของโปเกมอน เทรดดิงการ์ดเกม สำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล, ไอแพด,[59] และแอนดรอยด์.

โปเกมอน โปเกรอม กอตตาเลิร์นเอ็มออล!

แก้

โปเกมอน โปเกรอม กอตตาเลิร์นเอ็มออล! เป็นเกมชุดสะสมมินิซีดีรอมที่จัดจำหน่ายใน พ.ศ. 2543 โดยเดอะเลิร์นนิงคอมพานีและแมทเทล สามารถทำงานได้บนเครื่องไมโครซอฟท์ วินโดวส์และแมคอินทอช ในเกมจะมีดร.โอคิโดะช่วยนำทางตลอดทั้งเกม ในแต่ละซีดีจะมีปริศนาทางคณิตศาสตร์ที่สามารถพิมพ์รูปโปเกมอนออกมาได้ และอื่นๆอีกมากมาย[ต้องการอ้างอิง]

โปเกมอน 2000

แก้

โปเกมอน 2000 เป็นเกมผจญภัยมุมมองบุคคลที่หนึ่งที่เผยแพร่ใน พ.ศ. 2543 โดยไซเบอร์เวิลด์อินเตอร์เนชันแนลคอร์ปอเรชัน สร้างขึ้นโดยจุดประสงค์ที่จะโปรโมตภาพยนตร์โปเกมอน เดอะมูฟวี่ ลูเกีย จ้าวแห่งทะเลลึก[ต้องการอ้างอิง]

โปเกมอน โปรเจกต์สตูดิโอ

แก้

โปเกมอน โปรเจกต์สตูดิโอ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เผยแพร่ในสหรัฐอเมริกาในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 โดยเดอะเลิร์นนิงคอมพานี โปรแกรมนี้จะช่วยผู้ใช้สร้างทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับโปเกมอนเช่น ปฏิทิน, การ์ดอวยพร, ไปรษณียบัตร, สติกเกอร์, เป็นต้น ในแต่ละภาคจะมีคลังงานศิลป์ของโปเกมอนรุ่นที่หนึ่งที่แตกต่างกันออกไปเช่น การูราจะมีเฉพาะในภาคบลู ในขณะที่เคนเทารอสจะมีเฉพาะในภาคเรด คลังรูปภาพตัวละครมนุษย์อย่างซาโตชิและดร.โอคิโดะก็รวมอยู่ด้วย ผู้ใช้สามารถเพิ่มรูปภาพที่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลลงไปในเกมได้[ต้องการอ้างอิง]

โปเกมอน มาสเตอร์อารีนา

แก้

โปเกมอน มาสเตอร์อารีนา เป็นเกมโปเกมอนที่พัฒนาโดยอิแมจินเอนจิน ได้รับการออกแบบมาสำหรับเด็กเล็กโดยเฉพาะ เกมจะทดสอบความรู้ของผู้เล่นเพื่อพิสูจน์ตนเองว่าเป็นโปเกมอนมาสเตอร์ที่แท้จริงหรือไหม โดยจะมีบททดสอบอยู่ทั้งหมดแปดบท หลังจากที่ผู้เล่นผ่านแต่ละบททดสอบจะได้รับแปดโปสเตอร์ที่สามารถถูกพิมพ์ออกมาได้[ต้องการอ้างอิง]

โปเกมอน ทีมเทอร์โบ

แก้

ทีมเทอร์โบ เป็นเกมประเภทแข่งขันรถที่พัฒนาโดยอิแมจินเอนจิน ได้รับการออกแบบสำหรับเด็กเล็กโดยเฉพาะ รูปแบบตัวเกมจะเป็นการแข่งขันรถที่มีโปเกมอนอยู่ในมอนสเตอร์บอลแทนที่ยานพาหนะและมีสนามแข่งขันเจ็ดสนาม มีมินิเกมอยู่ห้าด้านเป็นเกมพัซเซิลที่เอาไว้เพิ่มความเร็วแล้วก็มีโหมดผจญภัยที่จะเลือกสนามตามลำดับโดยจะมีมินิเกมระหว่างเกมเพื่อเพิ่มความเร็ว[ต้องการอ้างอิง]

โปเกมอน พีซีมาสเตอร์

แก้

โปเกมอน พีซี มาสเตอร์ เป็นเกมโปเกมอนที่เผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น ได้รับการออกแบบมาเพื่อพัฒนาความรู้ของเด็กเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะ[ต้องการอ้างอิง]

เกม เซก้า

แก้

เกมโปเกมอนทั้งหมดเจ็ดเกมได้วางจำหน่ายบนเครื่องเซก้า[ต้องการอ้างอิง]

เกมชุด เซก้า พิโกะ

แก้
ชื่อ รายละเอียด
Pokémon: Catch the Numbers!

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2002
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2543 - เซก้า พิโกะ


Pokémon Advanced Generation: I've Begun Hiragana and Katakana!

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2546 - เซก้า พิโกะ


Pokémon Advanced Generation: Pico for Everyone Pokémon Loud Battle!

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2547 - เซก้า พิโกะ


เกมชุด อัดวานซ์พิโกะบีนา

แก้
ชื่อ รายละเอียด
Pokémon Advanced Generation: Pokémon Number Battle!

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2548 - อัดวานซ์พิโกะบีนา


Intellectual Training Drill Pokémon Diamond and Pearl: Letter and Number Intelligence Game

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 21 เมษายน พ.ศ. 2550
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2550 - อัดวานซ์พิโกะบีนา


Pokémon Diamond and Pearl: Search for Pokémon! Adventure in the Maze!

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[60]
  • JP: 17 กันยายน พ.ศ. 2552
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2552 - อัดวานซ์พิโกะบีนา


Pokémon Best Wishes: Intelligence Training Pokémon Big Sports Meet!

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 4 ธันวาคม พ.ศ. 2553
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2553 - อัดวานซ์พิโกะบีนา


เกมภาคแยกอื่น ๆ

แก้
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[61]
  • JP: 12 ธันวาคม พ.ศ. 2541
  • NA: 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2541 – นินเท็นโด 64
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[62]
  • JP: 21 มีนาคม พ.ศ. 2542
  • NA: 30 มิถุนายน พ.ศ. 2542
  • PAL: 15 กันยายน พ.ศ. 2543
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2542 – นินเท็นโด 64
พ.ศ.2550 – วี เวอร์ชวลคอนโซล
พ.ศ.2560 – วียู เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[63]
  • NA: 25 กันยายน พ.ศ. 2543
  • EU: 16 มีนาคม พ.ศ. 2544
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2543 – นินเท็นโด 64
พ.ศ.2551 – วี เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[64]
  • JP: 21 กันยายน พ.ศ. 2543
  • NA: 4 ธันวาคม พ.ศ. 2543
  • PAL: 15 มิถุนายน พ.ศ. 2544
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2543 – เกมบอยคัลเลอร์
พ.ศ.2557 – 3ดีเอส เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2546
  • NA: 1 ธันวาคม พ.ศ. 2546
  • EU: 2 เมษายน พ.ศ. 2547
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2546 – เกมคิวบ์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2546
  • NA: 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
  • EU: 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547
  • AU: 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2546 – เกมคิวบ์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 2 ธันวาคม พ.ศ. 2547
  • EU: 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
  • NA: 14 มีนาคม พ.ศ. 2548
  • AU: 7 เมษายน พ.ศ. 2548
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2547 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยแอมเบรลลา
  • เป็นการปรากฏตัวครั้งแรกของโปเกมอนรุ่นที่สี่ (กอนเบ)



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 20 ตุลาคม พ.ศ. 2548
  • NA: 6 มีนาคม พ.ศ. 2549
  • EU: 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2549
  • AU: 28 เมษายน พ.ศ. 2549
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2548 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2549 – มือถือเคลื่อนที่
หมายเหตุ:


โปเกมอน แบตทริโอ

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2550 – อาร์เคต
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 28 มีนาคม พ.ศ. 2551
  • NA: 9 มิถุนายน พ.ศ. 2551
  • EU: 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
  • AU: 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2551 – วีแวร์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552
  • EU: 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
  • NA: 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
  • AU: 23 กันยายน พ.ศ. 2553
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2552 – วี
2016 – วียู เวอร์ชวลคอนโซล
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 21 เมษายน พ.ศ. 2554
  • EU: 21 กันยายน พ.ศ. 2555
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2554 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
  • NA: 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
  • EU: 23 มีนาคม พ.ศ. 2555
  • AU: 29 มีนาคม พ.ศ. 2555
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2554 – วี
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[65]
  • JP: 17 มีนาคม พ.ศ. 2555
  • NA: 18 มิถุนายน พ.ศ. 2555
  • AU: 21 มิถุนายน พ.ศ. 2555
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2555 – นินเท็นโด ดีเอส
หมายเหตุ:


โปเกมอน เทรตตา

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[67]
  • JP: 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2555 – อาร์เคต
หมายเหตุ:


โปเกมอน เทรตตาแล็บ

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[68][69]
  • JP: 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2556 – นินเท็นโด 3ดีเอส, อาร์เคต
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 12 มีนาคม พ.ศ. 2557
  • EU: 13 มีนาคม พ.ศ. 2557
  • NA: 20 มีนาคม พ.ศ. 2557
  • AU: 14 มีนาคม พ.ศ. 2557
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2557 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • ทั่วโลก: 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2558 – นินเท็นโด 3ดีเอส, ไอโอเอส, แอนดรอยด์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[70]
  • JP: 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558
  • NA: 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558
  • EU: 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558
  • AU: 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
2015 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
  • ทั่วโลก: 23 มีนาคม พ.ศ. 2561
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2559 – นินเท็นโด 3ดีเอส
หมายเหตุ:
  • พัฒนาโดยครีเซอส์
  • ได้มีการปล่อยให้ดาวน์โหลดตัวเกมเป็นฉบับสั้น ๆ ในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 เฉพาะประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น ซึ่งต่อมาฉบับตัวเต็มได้วางจำหน่ายทั่วโลกในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2561



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[71]
  • ทั่วโลก: 18 มีนาคม พ.ศ. 2559
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2559 – วียู
หมายเหตุ:


โปเกมอน กาโอเล

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2556 – อาร์เคต
หมายเหตุ:
  • ใช้ระบบการเล่นเกมแบบเดียวกันกับโปเกมอน แบตทริโอและโปเกมอน เทรดตา
  • พัฒนาโดยทาการะโตมีและมาร์เวลลัส
  • จัดจำหน่ายที่ประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • ทั่วโลก: 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2560 – แอนดรอยด์, ไอโอเอส



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:[72]
  • ทั่วโลก: 22 กันยายน พ.ศ. 2560
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2560 – นินเท็นโด สวิตช์
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • ทั่วโลก: 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2561 - นินเท็นโด สวิตช์, แอนดรอยด์, ไอโอเอส
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • ทั่วโลก: 29 สิงหาคม พ.ศ. 2562
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ.2562 - แอนดรอยด์, ไอโอเอส
หมายเหตุ:


หมายเหตุ

แก้
  1. ポケットモンスターピカチュウ Poketto Monsutā Pikachū
  2. ポケットモンスター 金 Poketto Monsutā Kin
  3. ポケットモンスター 銀 Poketto Monsutā Gin
  4. ポケットモンスター クリスタル Poketto Monsutā Kurisutaru
  5. ポケットモンスター ルビー Poketto Monsutā Rubī
  6. ポケットモンスター サファイア Poketto Monsutā Safaia
  7. ポケットモンスター ファイアレッド Poketto Monsutā Faiareddo
  8. ポケットモンスター リーフグリーン Poketto Monsutā Rīfugurīn
  9. ポケットモンスター ダイアモンド Poketto Monsutā Daiamondo
  10. ポケットモンスター パール Poketto Monsutā Pāru
  11. ポケットモンスター ハートゴールド Poketto Monsutā Hātogōrudo
  12. ポケットモンスター ソウルシルバー Poketto Monsutā Sōrushirubā
  13. ポケットモンスター ブラック Poketto Monsutā Burakku
  14. ポケットモンスター ホワイト Poketto Monsutā Howaito
  15. ポケットモンスター サン Poketto Monsutā San
  16. ポケットモンスター ムーン Poketto Monsutā Mūn
  17. ポケモンスタヅアム2 Pokemon Sutajiamu 2
  18. ポケモンスタヅアム金銀 Pokemon Sutajiamu Kin Gin
  19. ポケモンXD 闇の旋風ダーク・ルギア Pokemon Ekkusudī Yami no Senpū Dāku Rugia
  20. ポケモンカードGB Pokemon Kādo Jī Bī
  21. ポケモン不思議のダンジョン マグナゲートと∞迷宮 Pokemon Fushigi No Danjon Magunagēto to ∞ Meikyū, อังกฤษ:Pokémon Mystery Dungeon: Magnagate and the Infinite Labyrinth
  22. ポケモンレンジャー バトナージ Pokemon Renjā Batonāji
  23. ポケモンレンジャー 光の軌跡 Pokemon Renjā Hikari no Kiseki
  24. 乱戦!ポケモンスクランブル Ransen! Pokemon Sukuranburu
  25. みんなのポケモンスクランブル Minna no Pokémon Sukuranburu
  26. ポケモンスクランブルSP Pokemon Sukuranburu SP

อ้างอิง

แก้
  1. "Pokémon Red - Game profile". IGN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-03-06. สืบค้นเมื่อ 2008-10-08.
  2. "Pokémon Red for Nintendo 3DS". Nintendo. สืบค้นเมื่อ 2016-02-17.
  3. 3.0 3.1 3.2 "'Pokken Tournament' and Pokemon's $1.5 Billion Brand". The Huffington Post. AOL. March 19, 2017. สืบค้นเมื่อ April 25, 2017.
  4. "Pokémon Yellow for Nintendo 3DS". Nintendo. สืบค้นเมื่อ 2016-02-17.
  5. 5.0 5.1 5.2 "Pokémon Gold - Game profile". IGN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-22. สืบค้นเมื่อ 2008-10-08.
  6. "Pokémon Gold - Release summary". GameSpot. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-23. สืบค้นเมื่อ 2008-10-08.
  7. "Pokémon Silver - Release summary". GameSpot. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-23. สืบค้นเมื่อ 2008-10-08.
  8. 8.0 8.1 "Pokémon Crystal - Release summary". GameSpot. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-24. สืบค้นเมื่อ 2008-10-08.
  9. 9.0 9.1 "Pokémon Ruby - Release summary". GameSpot. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-15. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
  10. "Poketto Monsutā Rubī and Safaia" (ภาษาญี่ปุ่น). Nintendo. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
  11. Harris, Craig (2003-03-17). "Pokémon: Ruby Version". IGN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-07. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
  12. Magdaleno, Alex (2014-05-08). "Nintendo Announces 2 New Pokémon Games for Fall". Mashable. สืบค้นเมื่อ 2014-05-10.
  13. "Consolidated Financial Statements" (PDF). Nintendo. November 25, 2004. สืบค้นเมื่อ January 25, 2007.
  14. 14.0 14.1 "Pokémon FireRed - Release summary". GameSpot. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-23. สืบค้นเมื่อ 2008-10-10.
  15. "Poketto Monsutā Faiareddo and Rīfugurīn". Nintendo. สืบค้นเมื่อ 2008-10-10.
  16. "ポケットモンスター ダイヤモンド・パール". nintendo.co.jp.
  17. Goldfarb, Andrew (2013-06-11). "E3 2013: Pokemon X & Y Release Date Announced". IGN. สืบค้นเมื่อ 2013-12-06.
  18. "Pokémon Omega Ruby and Pokémon Alpha Sapphire". May 7, 2014. สืบค้นเมื่อ May 7, 2014.
  19. "Pokémon Sun and Pokémon Moon". February 26, 2016. สืบค้นเมื่อ February 26, 2016.[ลิงก์เสีย]
  20. "Pokémon Ultra Sun and Pokémon Ultra Moon". June 6, 2017. สืบค้นเมื่อ June 6, 2017.[ลิงก์เสีย]
  21. Frank, Allegra (May 29, 2018). "Pokémon Let's Go! launches on นินเท็นโด สวิตช์ in November". Polygon. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 30, 2018. สืบค้นเมื่อ May 30, 2018.
  22. Plagge, Kallie (May 29, 2018). "Pokemon Let's Go Pikachu And Let's Go Eevee Announced For นินเท็นโด สวิตช์". GameSpot. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 30, 2018. สืบค้นเมื่อ May 30, 2018.
  23. Plagge, Kallie (12 June 2018). "Pokemon Let's Go Pikachu, Eevee: Everything We Know So Far". GameSpot. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 June 2018. สืบค้นเมื่อ 13 June 2018.
  24. "Pokémon Stadium (Japan) Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
  25. "Pokémon Stadium Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
  26. "Pokemon Stadium". gamefaqs.com.
  27. "Pokémon Stadium 2 Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
  28. "Pokemon Stadium 2". gamefaqs.com.
  29. "Pokémon Colosseum Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
  30. "Pokémon XD: Gale of Darkness Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
  31. "Pokémon Battle Revolution Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
  32. "Pokémon Trading Card Game Related Games". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-17.
  33. "Pokémon Play It! Related Games". Marlon. สืบค้นเมื่อ 2018-06-14.
  34. "Pokémon Play It! Related Games". Marlon. สืบค้นเมื่อ 2018-06-14.
  35. "Pokémon Card GB2 Related Games". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-06.
  36. "Pokémon Pinball Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-17.
  37. "Pokémon Pinball: Ruby & Sapphire Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-17.
  38. "Pokemon Mystery Dungeon: Blue Rescue Team - Nintendo DS - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  39. "Pokemon Mystery Dungeon: Red Rescue Team - Game Boy Advance - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  40. "Pokemon Mystery Dungeon: Explorers of Time - นินเท็นโด ดีเอส - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  41. "Pokemon Mystery Dungeon: Explorers of Darkness - Nintendo DS - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  42. "Pokemon Mystery Dungeon: Explorers of Sky - Nintendo DS - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  43. "ポケモン不思議のダンジョン 冒険団シリーズ公式サイト &#124 ポケットモンスターオフィシャルサイト". Nintendo. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2014. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  44. "Pokémon Mystery Dungeon: Gates to Infinity - Nintendo 3DS - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  45. "Pokemon Super Mystery Dungeon Official Site". Pokémon. สืบค้นเมื่อ 23 February 2016.
  46. "Pokémon Ranger Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-17.
  47. "Pokémon Ranger: Shadows of Almia Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-17.
  48. "Pokémon Ranger: Guardian Signs Release Summary". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 2013-05-17.
  49. "Pokemon Rumble U". IGN. สืบค้นเมื่อ January 12, 2014.
  50. "Pokémon Rumble World". pokemon.com. สืบค้นเมื่อ April 6, 2015.
  51. Gilbert, Ben (2011-06-08). "Here's your scannable Hydreigon for the Pokedex 3D". Joystiq. สืบค้นเมื่อ 2012-08-15.
  52. James Jones (31 May 2011). "Pokédex 3D Coming to 3DS eShop". Nintendo World Report. Nintendo World Report. สืบค้นเมื่อ 19 September 2016.
  53. The Pokemon Company. "Pokemon Bank". The Pokemon Company. สืบค้นเมื่อ 30 August 2015.
  54. Hina, Jens (12 August 2016). "Pokemon Go Accounts: Relation between Owner and Characters". Pokethrift. pp. 1–3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-24. สืบค้นเมื่อ 19 September 2016. Been struggling to find any Rare Pokemon with High CP, and decided to go ahead and order the highest package available from PokeThrift.
  55. Macdonald, Cheyenne (19 September 2016). "Pokémon Go Plus finally goes on sale in the UK and US". dailymail.co.uk. The Daily Mail. สืบค้นเมื่อ 19 September 2016.
  56. Joe Skrebels (24 January 2017). "New Pokemon Mobile Game Gets Surprise Release". IGN. สืบค้นเมื่อ 25 January 2017.
  57. Michael McWhertor (10 March 2016). "Pokémon Co-master is a new board game for Android and iOS". Polygon. สืบค้นเมื่อ 25 January 2017.
  58. Xavier Harding (24 January 2017). "Pokémon Duel': iOS and Android app officially released". Mic. สืบค้นเมื่อ 25 January 2017.
  59. "Pokemon TCG Online now available for iPad users in North America". Tech Times.
  60. "Pocket Monsters Diamond & Pearl Pokémon o Sagase! Meiro de Daibouken". สืบค้นเมื่อ 6 June 2018.
  61. "Hey You, Pikachu! - Nintendo 64 - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  62. "Pokemon Snap - Nintendo 64 - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  63. "Pokemon Puzzle League - Nintendo 64 - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  64. "Pokemon Puzzle Challenge - Game Boy Color - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  65. "Pokemon Conquest - Nintendo DS - IGN". IGN. สืบค้นเมื่อ 12 January 2014.
  66. ""โปเกมอน" จับมือ "โนบุนากะ" ทำเกมวางแผนลง DS". mgronline. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  67. "Pokemon Tretta". Pocketmonsters. สืบค้นเมื่อ 30 August 2015.
  68. "Pokemon Tretta Lab". Engadget. สืบค้นเมื่อ 30 August 2015.
  69. "Pokemon Tretta Lab". Serebii. สืบค้นเมื่อ 30 August 2015.
  70. "Feature: The Big Nintendo Direct Summary - 12th November". Nintendo Life. November 12, 2015. สืบค้นเมื่อ November 21, 2015.
  71. "Pokkén Tournament for Wii U". Nintendo. สืบค้นเมื่อ 2016-03-18.
  72. "Pokkén Tournament DX for Switch". Nintendo. สืบค้นเมื่อ 2017-06-18.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้