รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการพากย์เสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย
รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการพากย์เสียงยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไทย
รางวัลตุ๊กตาทอง
แก้- ครั้งที่ 1 ประจำปี 2500 (3/8/2500) [1]
- เสน่ห์ โกมารชุน / จุรี โอศิริ (โบตั๋น)
- ครั้งที่ 2 ประจำปี 2501 (9/12/2501) [2]
- เสน่ห์ โกมารชุน / เสถียร ธรรมเจริญ / สอางค์ ทิพยทัศน์ (เห่าดง)
- ครั้งที่ 3 ประจำปี 2502 (4/12/2502) [3]
- พันคำ / พวงเล็ก จิตต์เที่ยง (วนาลี)
- ครั้งที่ 4 ประจำปี 2503 (4/2/2504) [4]
ไม่มีข้อมูล
- ครั้งที่ 5 ประจำปี 2505 (9/2/2506) [5]
- พันคำ / พวงเล็ก จิตต์เที่ยง (สายเลือด-สายรัก)
- ครั้งที่ 6 ประจำปี 2506 (15/2/2507)[6]
- รุ่งโรจน์ / เพ็ญศรี พุ่มชูศรี (จำเลยรัก)
- ครั้งที่ 7 ประจำปี 2507 (17/3/2508)[7]
- จุรี โอศิริ / สมพงษ์ พงษ์มิตร / เพ็ญศรี พุ่มชูศรี (นกน้อย)
- ครั้งที่ 8 ประจำปี 2508 (3/5/2509)[8]
- เสน่ห์ โกมารชุน / อัมภาพรรณ์ / เสนอ โกมารชุน / วรรณรักษ์ / สีเทา (สาวเครือฟ้า)
รางวัลพระราชทาน พระสุรัสวดี
แก้รางวัลนี้ริเริ่มกลับมามอบตั้งแต่การประกวดประจำปี 2525 โดยแยกเป็นประเภทนักพากย์ชาย-หญิง
- ครั้งที่ 14 ประจำปี 2525 (25/12/2525)[9]
- ชูชาติ อินทร (ทอง 2)
- จุรี โอศิริ (เทพธิดาโรงงาน)
- ครั้งที่ 15 ประจำปี 2526[10]
- สมพงษ์ วงษ์รักไทย (ไอ้ ป.4 ไม่มีเส้น)
- พวงเล็ก จิตต์เที่ยง (หัวใจทมิฬ)
- ครั้งที่ 16 ประจำปี 2527[11]
- รอง เค้ามูลคดี (คาดเชือก)
- นัยนา เพิ่มสุริยา (เพชรตัดเพชร)
- ครั้งที่ 17 ประจำปี 2528[12]
- ชูชาติ อินทร (หมอบ้านนอก)
- ศิริพร วงศ์สวัสดิ์ (หมอบ้านนอก)
- ครั้งที่ 18 ประจำปี 2529[13]
- รอง เค้ามูลคดี (ไม่สิ้นไร้ไฟสวาท)
- ดวงดาว จารุจินดา (แ ก้วกลางดง)
- ครั้งที่ 19 ประจำปี 2530[14]
- มนตรี เจนอักษร (ภุมรีสีทอง)
- ดวงดาว จารุจินดา (วิวาห์ไฟ)
- ครั้งที่ 20 ประจำปี 2531[15]
- รอง เค้ามูลคดี (คู่กรรม)
- นัยนา เพิ่มสุริยา (ความรัก)
- ครั้งที่ 21 ประจำปี 2532[16]
- มนตรี เจนอักษร (กลกามแห่งความรัก)
- ตุ๊กตา จินดานุช (ยิ้มนิดคิดเท่าไหร่)
- ครั้งที่ 22 ประจำปี 2533[17]
- รอง เค้ามูลคดี (หลงไฟ)
- ศันสนีย์ สมานวรวงศ์ (นางอาย)
รางวัลนี้ได้ยกเลิกไป ไม่มีการมอบรางวัลนี้ตั้งแต่การประกวดครั้งที่ 23 ประจำปี 2534 เป็นต้นไป
รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ
แก้ไม่มีการมอบรางวัลนี้
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์
แก้ไม่มีการมอบรางวัลนี้
อ้างอิง
แก้- หนึ่งเดียว, พิพิธภัณฑ์หนังไทย ฉบับ ประวัติการณ์ที่สุดหนังไทย, สำนักพิมพ์ Popcorn, 2549, http://www.popcornmag.com เก็บถาวร 2019-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - ISBN 974-94228-8-0
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-02-11. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-11-02. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-29. สืบค้นเมื่อ 2011-03-12.