รายชื่อนายกรัฐมนตรีเนปาล

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งเนปาล (เนปาล: नेपालको प्रधानमन्त्री, อักษรโรมัน: เนปาลาโก ประธานมนตรี) ในรูปแบบใหม่ถูกเรียกด้วยชื่อที่แตกต่างกันในช่วงเวลาต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์เนปาล ในยุคสมัยของกษัตริย์ราชวงศ์ศาหะ มุลกาจิส (หัวหน้า กาจิส) หรือเจาตาริยาส ทำงานในฐานะนายกรัฐมนตรีในสภาแห่ง 4 เจาตาริยาส, 4 กาจิส, และเจ้าหน้าที่จิปาถะ เหล่า ภราดาส (เสนาบดี) ถูกเลือกมาจากตระกูลที่มีวรรณะสูงและมีอิทธิพลทางการเมือง เช่น ตระกูลปันเด ตระกูลบัสนียัต และตระกูลถาปะ ขุนนางกุรข่าส่วนใหญ่มาจากตระกูลวรรณะกษัตริย์และพวกเขามีสถานะที่มั่นคงในการบริหารกิจการพลเรือน[1] นายกรัฐมนตรีเนปาลตั้งแต่ 1768-1950 เป็นพวกวรรณะกษัตริย์ ยกเว้นรานา นาถ ปูดยาลที่เป็นพราหมณ์[2] การจัดสรรอำนาจของฝ่ายบริหารมีความผลัดเปลี่ยนระหว่าง กาจิส และ เจาตาริยาส ใน ค.ศ. 1804 นั้น ตำแหน่งที่มีอำนาจเพียงตำแหน่งเดียวได้แก่ มุคติยาร์ ซึ่งสถาปนาโดยพระเจ้ารณพหาทุร ศาหะซึ่งมีอำนาจบริหารของประเทศ[3] มุคติยาร์ ดำรงสถานะเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารเรื่อยมาจนกระทั่งการจัดตั้งตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1843 โดย มาทาบาร์ ซิงห์ ถาปะ ผู้เป็น มุคติยาร์ ตลอดจนนายกรัฐมนตรีและผู้บัญชาการกองทัพเนปาล[4][5] ในยุคสมัยของตระกูลรานา ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกลายเป็นตำแหน่งสืบสายโลหิตและมีการเพิ่มตำแหน่ง — มหาราชาแห่งลัมจังและกัสกี ผู้บัญชาการทหารสูงสุดเนปาล และ ประธานเครื่องราชอิสสริยาภรณ์แห่งเนปาล

หลังการปฏิวัติเนปาล 1951 พลเมืองที่ไม่ใช่ชนชั้นสูงเช่น มาตริกา ปราสาท โคอีราลา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรียังคงอยู่ภายใต้การประกาศของพระมหากษัตริย์เนปาล การเลือกตั้งครั้งแรกได้รับการจัดตั้งใน 1959 และภิชเวชวาร์ ปราสาท โคอีราลากลายเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ได้รับเลือกตั้ง อย่างไรก็ตาม เขาถูกปลดและจำคุกใน 1960 โดยสมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทรพีรพิกรมศาหะเทวะ ผู้ทรงสร้างระบอบเผด็จการแบบคณาธิปไตยคือระบบปัญจญัติ และเนปาลก็ไม่มีรัฐบาลประชาธิปไตยจนกระทั่ง ค.ศ. 1990 หลังการเคลื่อนไหวจานา อันโดลันใน ค.ศ. 1990 ประเทศจึงเปลี่ยนเป็นระบอบราชาธิปไตยในรัฐบาล การล้มเลิกราชาธิปไตยในวันที่ 28 พฤษภาคม 2008 โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญชุดที่ 1 แล้วประเทศก็เปลี่ยนแปลงเป็นระบอบสหพันธรัฐสาธารณรัฐประชาธิปไตย

หัวหน้ารัฐบาลแห่งราชอาณาจักรเนปาล (1768–2008) แก้

ก่อน 1800 แก้

No. รูป นาม
(กำเนิด–อสัญกรรม)
สมัย ตำแหน่ง กษัตริย์
(Reign)
เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง
1   วามชราช ปันเด
(1739–1785)
ป. 1776 ป. 1779 เทวัญ[note 1] พระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะ
 
(1751–1777)
2   ศวารัพ ซิงห์ การ์กี
(1751–1785)
ป. 1776 ป. 1777 เทวัญ[note 2]
3   ซาร์บาจิต รานา มาการ์
(1750–1778)
ป. 1777 ป. 1778 กาจี/มุลกาจี[note 3] พระเจ้ารณพหาทุร ศาหะ
 
(1775–1806)
(1)   วามชราช ปันเด
(1739–1785)
ป. 1782 ป. 1785 เทวัญ/มนตรีนายก[note 4]
4   อภิมัน ซิงห์ บัสนียัต
(1744–1800)
ป. 1785 ป. 1794 มุลกาจี[note 5]
  เจ้าชายบะฮะดูร์ศาหะ
(1757–1797)
ป. 1785 ป. 1794 Mul–Chautariya[note 6]
5   กฤติมัน ซิงห์ บัสนียัต
(1760–1801)
ป. 1794 ป. 1801 มุลกาจี[note 7]
พระเจ้าคีรวาณยุทธพิกรม ศาหะ
 
(1799–1816)
6   ภัคทวาร์ ซิงห์ บัสนียัต
(1759–1840)
ป. 1801 ป. 1803 มุลกาจี[note 8]

มุลกาจีและมุกติยาร์ยุครุ่งเรืองของราชวงศ์ศาหะและก่อนยุครานา แก้

No. รูป นาม
(กำเนิด–อสัญกรรม)
สมัย กษัตริย์
(Reign)
เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง
1   ดาโมดาร์ ปันเด
(1752–1804)
กุมภาพันธ์ 1803 มีนาคม 1804 พระเจ้าคีรวาณยุทธพิกรม ศาหะ
 
(1799–1816)
  เจ้าชายรณพหาทุร ศาหะ
(1775–1806)
1804[note 9] 26 เมษายน 1806
2   ภีมเสน ถาปะ
(1775–1839)
1806 กรกฎาคม 1837
พระเจ้าราเชนทรพิกรม ศาหะ
 
(1816–1847)
3   รานา จัง ปันเด
(1789–1843)
1st time
1837 1837
4   รังกา นาถ ปูดยาล
(1773–?)
1st time
ตุลาคม 1837 สิงหาคม 1838
5   เชาทาริยะ ปุสการ์ ศาหะ
(1784–1846)
ตุลาคม 1838 1839
(3)   รานา จัง ปันเด
(1789–1843)
2nd time
เมษายน 1839 1840
(4)   รังกา นาถ ปูดยาล
(1773–?)
2nd time
1840 1840
6   ฟาเตห์ จุง ศาหะ
(1805–1846)
1st time
พฤศจิกายน 1840 มกราคม 1843
7   มาทาบาร์ ซิงห์ ถาปะ
(1798–1845)
พฤศจิกายน 1843 25 ธันวาคม 1843

นายกรัฐมนตรีก่อนสมัยตระกูลรานา (1843–1846) แก้

No. รูป นาม
(กำเนิด–อสัญกรรม)
สมัย รัฐบาล กษัตริย์
(Reign)
เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง
(7)   มาทาบาร์ ซิงห์ ถาปะ
(1798–1845)
25 ธันวาคม 1843 17 พฤษภาคม 1845 พระเจ้าราเชนทรพิกรม ศาหะ
 
(1816–1847)
(6)   ฟาเตห์ จุง ศาหะ
(1805–1846)
ครั้งที่ 2
กันยายน 1845 14 กันยายน 1846 Fateh Jung Shah II

นายกรัฐมนตรีภายใต้ตระกูลรานา(1846–1951) แก้

No. รูป นาม
(กำเนิด–อสัญกรรม)
สมัย กษัตริย์
(Reign)
เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง จำนวนวัน
8   จุง บะฮะดูร์ รานา
(1816–1877)
ครั้งแรก
15 กันยายน 1846 1 สิงหาคม 1856 3608 พระเจ้าสุเรนทรพิกรมศาหะ
 
(1847–1881)
9   บาม บะฮะดูร์ กุนวาร์
(1818–1857)
1 สิงหาคม 1856 25 พฤษภาคม 1857 297
  กฤษณะ บะฮะดูร์ กุนวาร์ รานา
(1823–1863)
รักษาการ
25 พฤษภาคม 1857 28 มิถุนายน 1857 34
(8)   จุง บะฮะดูร์ รานา
(1816–1877)
ครั้งที่ 2
28 มิถุนายน 1857 25 กุมภาพันธ์ 1877 7182
10   ราโนธิป ซิงห์ กุนวาร์
(1825–1885)
25 กุมภาพันธ์ 1877 22 พฤศจิกายน 1885 3192
พระเจ้าปฤษถวีพีรพิกรมศาหะเทวะ
 
(1881–1911)
11   พีร ซัมเซร์ จัง บะฮะดูร์ รานา
(1852–1901)
22 พฤศจิกายน 1885 5 มีนาคม 1901 5581
12   เทว ซัมเซร์ จัง บะฮะดูร์ รานา
(1862–1914)
5 มีนาคม 1901 27 มิถุนายน 1901 114
13   จันทรา ซัมเซร์ จัง บะฮะดูร์ รานา
(1863–1929)
27 มิถุนายน 1901 26 พฤศจิกายน 1929 10379
พระเจ้าตริภูวันพีรพิกรมศาหะเทวะ
 
(1911–1955)
14   ภีมะ ซัมเซร์ จัง บะฮะดูร์ รานา
(1865–1932)
26 พฤศจิกายน 1929 1 กันยายน 1932 1010
15   ยุทธา ซัมเซร์ จัง บะฮะดูร์ รานา
(1875–1952)
1 กันยายน 1932 29 พฤศจิกายน 1945 4837
16   ปัทมา ซัมเซร์ จัง บะฮะดูร์ รานา
(1882–1961)
29 พฤศจิกายน 1945 30 เมษายน 1948 883
17   โมฮัน ซัมเซร์ จัง บะฮะดูร์ รานา
(1885–1967)
30 เมษายน 1948 12 พฤศจิกายน 1951 1291

นายกรัฐมนตรีในช่วงเปลี่ยนผ่าน (1951–1960) แก้

No. รูป นาม
(กำเนิด–อสัญกรรม)
สมัย เลือกตั้ง พรรค รัฐบาล กษัตริย์
(Reign)
เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง จำนวนวัน
18   มาตริกา ปราสาท โคอีราลา
(1912–1997)
1st time
16 พฤศจิกายน 1951 14 สิงหาคม 1952 272 เนปาลีคองเกรส M.P. Koirala I สมเด็จพระราชาธิบดีตริภูวณพีรพิกรมศาหะเทวะ
 
(1911–1955)
  บริหารราชการแผ่นดินโดยตรงจากกษัตริย์
ตริภูวันพีรพิกรมศาหะเทวะ
(1906–1955)
14 สิงหาคม 1952 15 มิถุนายน 1953 305
(18)   มาตริกา ปราสาท โคอีราลา
(1912–1997)
2nd time
15 มิถุนายน 1953 11 เมษายน 1955 668 รัสตรียประชา M.P. Koirala II
สมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทรพีรพิกรมศาหะเทวะ
 
(1955–1972)
  สูรยะ บะฮะดูร์ ถาปะ
(1928–2015)
รักษาการ
11 เมษายน 1955 14 เมษายน 1955 3
  บริหารราชการแผ่นดินโดยตรงจากกษัตริย์
มเหนทราพีรพิกรมศาหะเทวะ
(1920–1972)
14 เมษายน 1955 27 มกราคม 1956 288
19   ทันกา ปราสาท อาจารยา
(1912–1992)
27 มกราคม 1956 26 กรกฎาคม 1957 546 เนปาลประชาบริษัท Tanka Acharya
20   กุนวาร์ อินเดอร์จิต ซิงห์
(1906–1982)
26 กรกฎาคม 1957 15 พฤษภาคม 1958 293 สหประชาธิปไตย K.I. Singh
21 สุพรรณ ซัมเซร์ รานา
(1910–1977)
15 พฤษภาคม 1958 27 พฤษภาคม 1959 377 เนปาลีคองเกรส
22   ภิชเวชวาร์ ปราสาท โคอีราลา
(1914–1982)
MP for Morang–Biratnagar West
27 พฤษภาคม 1959 26 ธันวาคม 1960 579 1959 B.P. Koirala

นายกรัฐมนตรีระหว่างสมัยระบอบปัญจญัติหรือไร้พรรคการเมือง (1960–1990) แก้

No. รูป นาม
(กำเนิด–อสัญกรรม)
สมัย กษัตริย์
(Reign)
เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง จำนวนวัน
  บริหารราชการแผ่นดินโดยตรงจากกษัตริย์
มเหนทราพีรพิกรมศาหะเทวะ
(1920–1972)
26 ธันวาคม 1960 2 เมษายน 1963 827 สมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทรพีรพิกรมศาหะเทวะ
 
(1955–1972)
23 ตุลสี กิรี
(1926–2018)
ครั้งแรก
2 เมษายน 1963 23 ธันวาคม 1963 265
24   สูรยะ บะฮะดูร์ ถาปะ
(1928–2015)
ครั้งแรก
23 ธันวาคม 1963 26 กุมภาพันธ์ 1964 65
(23) ตุลสี กิรี
(1926–2018)
ครั้งที่ 2
26 กุมภาพันธ์ 1964 26 มกราคม 1965 335
(24)   สูรยะ บะฮะดูร์ ถาปะ
(1928–2015)
ครั้งที่ 2
26 มกราคม 1965 7 เมษายน 1969 1532
25   กีรติ นิธิ บิสตา
(1927–2017)
ครั้งแรก
7 เมษายน 1969 13 เมษายน 1970 371
  เกเฮนดรา บะฮะดูร์ ราชพันดารี
(1923–1994)
รักษาการ
13 เมษายน 1970 14 เมษายน 1971 366
(25)   กีรติ นิธิ บิสตา
(1927–2017)
ครั้งที่ 2
14 เมษายน 1971 16 กรกฎาคม 1973 794
สมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทรพีรพิกรมศาหะเทวะ
 
(1972–2001)
26   นาเกนดรา ปราสาท ริยาล
(1927–1994)
ครั้งแรก
16 กรกฎาคม 1973 1 ธันวาคม 1975 898
(23) ตุลสี กิรี
(1926–2018)
ครั้งที่ 3
1 ธันวาคม 1975 12 กันยายน 1977 651
(25)   กีรติ นิธิ บิสตา
(1927–2017)
ครั้งที่ 3
12 กันยายน 1977 30 พฤษภาคม 1979 625
(24)   สูรยะ บะฮะดูร์ ถาปะ
(1928–2015)
ครั้งที่ 3
30 พฤษภาคม 1979 12 กรกฎาคม 1983 1504
27 โลเกนดรา บะฮะดูร์ จัน
(1940–)
ครั้งแรก
12 กรกฎาคม 1983 21 มีนาคม 1986 983
(26)   นาเกนดรา ปราสาท ริยาล
(1927–1994)
ครั้งที่ 2
21 มีนาคม 1986 15 มิถุนายน 1986 86
28   มาริช มาน เศรษฐา
(1942–2013)
15 มิถุนายน 1986 6 เมษายน 1990 1391
(27) โลเกนดรา บะฮะดูร์ จัน
(1940–)
ครั้งที่ 2
6 เมษายน 1990 19 เมษายน 1990 13

นายกรัฐมนตรีสมัยราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญ (1990–2008) แก้

No. รูป นาม
(กำเนิด–อสัญกรรม)
สมัย เลือกตั้ง พรรค กษัตริย์
(Reign)
เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง จำนวนวัน
29   กฤษณะ ปราสาท ภัททาไร
(1924–2011)
ครั้งแรก
19 เมษายน 1990 26 พฤษภาคม 1991 402 เนปาลีคองเกรส สมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทรพีรพิกรมศาหะเทวะ

(1972–2001)
30 คิริชา ประสาท โกอิราลา
(1924–2010)
MP for Morang 1
ครั้งแรก
26 พฤษภาคม 1991 30 พฤศจิกายน 1994 1284 1991
31 มันโมฮัน อธิการี
(1920–1999)
MP for Kathmandu 3
30 พฤศจิกายน 1994 12 กันยายน 1995 286 1994 พรรคคอมมิวนิสต์เนปาล (Unified Marxist–Leninist)
32   เชอร์ บะฮะดูร์ ดูบา
(1946–)
MP for Dadeldhura 1
ครั้งแรก
12 กันยายน 1995 12 มีนาคม 1997 547 เนปาลีคองเกรส
(27) โลเกนดรา บะฮะดูร์ จัน
(1940–)
MP for Baitadi 2
ครั้งที่ 3
12 มีนาคม 1997 7 ตุลาคม 1997 209 ราสตรียะ ประชาทันตรา (จัน)
(24)   สูรยะ บะฮะดูร์ ถาปะ
(1928–2015)
MP for Dhankuta 2
ครั้งที่ 4
7 ตุลาคม 1997 15 เมษายน 1998 190 ราสตรียะ ปราชาทันตรา
(30) คิริชา ประสาท โกอิราลา
(1924–2010)
MP for Morang 1
ครั้งที่ 2
15 เมษายน 1998 31 พฤษภาคม 1999 411 เนปาลีคองเกรส
(29)   กฤษณะ ปราสาท ภัททาไร
(1924–2011)
MP for Parsa 1
ครั้งที่ 2
31 พฤษภาคม 1999 22 มีนาคม 2000 296 1999
(30) คิริชา ประสาท โกอิราลา
(1924–2010)
MP for Sunsari 5
ครั้งที่ 3
22 มีนาคม 2000 26 กรกฎาคม 2001 491
สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรพีรพิกรมศาหะเทวะ

(2001–2008)
(32)   เชอร์ บะฮะดูร์ ดูบา
(1946–)
MP for Dadeldhura 1
ครั้งที่ 2
26 กรกฎาคม 2001 4 ตุลาคม 2002 435
บริหารราชการแผ่นดินโดยตรงจากกษัตริย์
สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทราพีรพิกรมศาหะเทวะ
(1947–)
4 ตุลาคม 2002 11 ตุลาคม 2002 7
(27) โลเกนดรา บะฮะดูร์ จัน
(1940–)
ครั้งที่ 4
11 ตุลาคม 2002 5 มิถุนายน 2003 237 ราสตรียะ ปราชาทันตรา
(24)   สูรยะ บะฮะดูร์ ถาปะ
(1928–2015)
ครั้งที่ 5
5 มิถุนายน 2003 3 มิถุนายน 2004 364
(32)   เชอร์ บะฮะดูร์ ดูบา
(1946–)
ครั้งที่ 3
3 มิถุนายน 2004 1 กุมภาพันธ์ 2005 243 เนปาลีคองเกรส (Democratic)
บริหารราชการแผ่นดินโดยตรงจากกษัตริย์
ชญาเนนทราพีรพิกรมศาหะเทวะ
(1947–)
1 กุมภาพันธ์ 2005 25 เมษายน 2006 448
(30) คิริชา ประสาท โกอิราลา
(1924–2010)
ครั้งที่ 4
25 เมษายน 2006 28 พฤษภาคม 2008 764 เนปาลีคองเกรส

นายกรัฐมนตรีแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (2008–ปัจจุบัน) แก้

No. รูป นาม
(กำเนิด–อสัญกรรม)
สมัย เลือกตั้ง พรรค รัฐบาล ประธานาธิบดี
(Term)
เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง จำนวนวัน
(30) คิริชา ประสาท โกอิราลา
(1924–2010)
ครั้งที่ 5
28 พฤษภาคม 2008[20][21][22] 18 สิงหาคม 2008[21][22] 82 เนปาลีคองเกรส คิริชา ประสาท โกอิราลา
(2007–2008)
(รักษาการประมุขแห่งรัฐ)
33   ปุษปา กามาล ดาฮาล
(1954–)
MCA for Kathmandu 10
ครั้งแรก
18 สิงหาคม 2008 25 พฤษภาคม 2009 280 2008

(Constituent Assembly)

พรรคคอมมิวนิสต์เนปาล (เหมาอิสต์) Dahal I ราม บารัน ยาโด
 
(2008–2015)
34   มาโด กุมาร์ เนปาล
(1953–)
Nominated MCA
25 พฤษภาคม 2009 6 กุมภาพันธ์ 2011 622 พรรคคอมมิวนิสต์เนปาล (Marxist–Leninist) Madhav Nepal
35   ญาลา นาถ คานาล
(1950–)
MCA for Ilam 1
6 กุมภาพันธ์ 2011 29 สิงหาคม 2011 204 Khanal
36   บาบุรัม บัตตาไร
(1954–)
MCA for Gorkha 2
29 สิงหาคม 2011 14 มีนาคม 2013 563 พรรคคอมมวนิสต์แห่งเนปาล (เหมาอิสต์) Bhattarai
  ฆิล ราช เรกมี
(1949–)
รักษาการ
14 มีนาคม 2013 11 กุมภาพันธ์ 2014 334 อิสระ Regmi Interim
37 สุชิล โกอิราลา
(1939–2016)
MCA for Banke 3
11 กุมภาพันธ์ 2014 12 ตุลาคม 2015 608 2013

(Constituent Assembly)

เนปาลีคองเกรส Sushil Koirala
38   เคพี ชาร์ม โอลี
(1952–)
MCA for Jhapa 7
ครั้งแรก
12 ตุลาคม 2015 4 สิงหาคม 2016 297 พรรคคอมมิวนิสต์เนปาล (Unified Marxist–Leninist) Oli I
พิทยาเทวี ภัณฑารี
 
(2015–ปัจจุบัน)
(33)   ปุษปา กามาล ดาฮาล
(1954–)
MCA for Siraha 5
ครั้งที่ 2
4 สิงหาคม 2016[23] 7 มิถุนายน 2017 307 พรรคคอมมิวนิสต์เนปาล (เหมากลาง) Dahal II
(32)   เชอร์ บะฮะดูร์ ดูบา
(1946–)
MCA for Dadeldhura 1
ครั้งที่ 4
7 มิถุนายน 2017[24] 15 February 2018[25] 253 เนปาลีคองเกรส Deuba IV
(38)   เคพี ชาร์ม โอลี
(1952–)
MP for Jhapa 5
ครั้งที่ 2
15 February 2018[26] ปัจจุบัน 2256 2017 พรรคคอมมิวนิสต์เนปาล Oli II

เชิงอรรถ แก้

  1. Pahari 1995, p. 632.
  2. Raj 1996, p. 5.
  3. Nepal, Gyanmani (2007). Nepal ko Mahabharat (ภาษาเนปาล) (3rd ed.). Kathmandu: Sajha. p. 314. ISBN 9789993325857.
  4. Kandel, Devi Prasad (2011). Pre-Rana Administrative System. Chitwan: Siddhababa Offset Press. p. 95.
  5. Regmi 1971, p. 17.
  6. 6.0 6.1 Regmi 1975, p. 272.
  7. D.R. Regmi 1975, p. 285.
  8. Shaha 1990, p. 46.
  9. Shaha 2001, p. 21.
  10. Wright 1877, p. 260.
  11. Karmacharya 2005, p. 56.
  12. 12.0 12.1 Pradhan 2012, p. 12.
  13. Vaidya & Bajracharya 1991, p. 9.
  14. Regmi 1972, p. 12.
  15. Regmi 1971, p. 12.
  16. Pradhan 2012, p. 13.
  17. Acharya 2012, pp. 28–32.
  18. Lama 2012, p. 35.
  19. Pradhan 2012, p. 25.
  20. "Girija Prasad koirla prime minister". nepalnews. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-12. สืบค้นเมื่อ 2017-12-12.
  21. 21.0 21.1 "Girija prasad, acting head of state of nepal". cnn. สืบค้นเมื่อ 2017-12-12.
  22. 22.0 22.1 bbc http://news.bbc.co.uk/2/hi/south_asia/7475112.stm. สืบค้นเมื่อ 2017-12-12. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  23. "Pushpa Kamal Dahal Prachanda sworn in as new Nepal PM". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). 2016-08-04. สืบค้นเมื่อ 2017-07-08.
  24. "Sher Bahadur Deuba sworns in as Prime Minister". thehimalayantimes.com. สืบค้นเมื่อ 2017-07-08.
  25. "PM Deuba announces resignation". The Kathmandu Post. 2018-02-15. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-16. สืบค้นเมื่อ 2018-02-15.
  26. "Newly appointed PM KP Sharma Oli takes oath of office". The Kathmandu Post. 2018-02-15. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-16. สืบค้นเมื่อ 2018-02-15.
  1. The document dated Bikram Samvat 1833 Bhadra Vadi 3 Roj 6 (i.e. Friday 2 August 1776), shows that both Swaroop Singh Karki and Vamsharaj Pande had carried the title of Dewan (equivalent to Prime Minister).[6]
  2. The document dated Bikram Samvat 1833 Bhadra Vadi 3 Roj 6 (i.e. Friday 2 August 1776), shows that both Swaroop Singh Karki and Vamsharaj Pande had carried the title of Dewan (equivalent to Prime Minister).[6]
  3. Historian Dilli Raman Regmi asserts that Sarbajit was chosen as Mulkaji (Chief Kaji).[7] Historian Rishikesh Shah asserts that Sarbajit was appointed only a Kaji [8] and was the head of the Nepalese government for a short period in 1778.[9]
  4. Daniel Wright mentions him as the Mantri-Nayak (Prime Minister) under the King Rana Bahadur Shah (1777-1799).[10]
  5. Abhiman Singh Basnyat was replaced by Kirtiman Singh Basnyat as Mulkaji[11] after the dismissal of government on maturity of King Rana Bahadur Shah in 1794 AD.[12]
  6. On Shrawan 1842 B.S. (i.e. July 1785), after the death of Regent Queen Rajendra Laxmi, Bahadur Shah assumed the regency and administration on the call of Bharadars.[13] Historian Baburam Acharya referred the reign of Bahadur Shah as "Primeministership" or "Premiership".[14] Prince Bahadur Shah of Nepal was Chief Chautariya (Mul-Chautariya) up to Baisakh 1851 B.S. (i.e. April 1794). The Chief Chautariya carried the functions of a Prime Minister.[15]
  7. Though the position of Mulkaji (Chief Cook) was bestowed on Kirtiman Singh in 1794, Damodar Pande was the most influential Kaji.[12] and Damodar lead the military forces and the second government to prevent the re-establishment of royal authority of self-renounced King Rana Bahadur Shah in 1799.[16][17]
  8. Bakhtawar Singh Basnyat, brother of assassinated Tenzin Norbu Lama, was then given the post of King.[18]
  9. The position of Mukhtiyar was formed and ruled by renounced King Rana Bahadur Shah on the year 1804 A.D.[19]