รายชื่อธงในประเทศสกอตแลนด์

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

บทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสกอตแลนด์. สำหรับธงอื่นๆ ที่มีการใช้ในสหราชอาณาจักร ดูเพิ่มเติมที่ ธงในสหราชอาณาจักร สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ธงชาติ แก้

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ประมาณ ค.ศ. 1286[1] ธงชาติสกอตแลนด์ เรียกกันทั่วไปว่า ธงกางเขนแห่งนักบุญแอนดรูว์ หรือธงกากบาททแยง ("Saltire") ธงพื้นสีน้ำเงิน มีรูปกากบาทแนวทแยงมุมสีขาว

ธงพระอิสริยยศ แก้

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1837 ธงประจำพระองค์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบ็ธที่ 2 สำหรับใช้ในสกอตแลนด์ (ธงนี้เป็นธงพระอิสริยยศสำหรับพระมหากษัตริย์ทุกรัชกาล) ธงพื้นลายตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร ชนิดใช้ในประเทศสกอตแลนด์ ซึ่งใช้เป็นตราประจำพระองค์ด้วย.[2]
  ค.ศ. 1948 ธงประจำพระองค์เจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ ธงพื้นลายตราประจำพระองค์ ช่องซ้ายบนหมายถึงเดนมาร์ค ช่องขวาบนหมายถึงราชวงศ์กรีซ ช่องซ้ายล่างหมายถึงตระกูลเมาท์แบตแตน ช่องขวาล่างคือตราประจำแคว้นเอดินเบอระ
  ค.ศ. 1222[1] ธงประจำพระอิสริยยศพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ ธงพื้นสีเหลืองมีรูปสิงห์สีแดง ล้อมรอบด้วยลายขอบสีเหลี่ยม คั่นด้วยรูปเฟลอร์เดอลีส์หันปลายสลับกันสีแดง (ลายตราแผ่นดินของสกอตแลนด์) .[2][3].
  ธงประจำพระอิสริยยศดยุคแห่งโรเตสเซย ธงพื้นลายตราประจำตำแหน่งดยุคแห่งโรเตสเซย
  Since 1974[4] Personal banner of the 23rd Duke of Rothesay The personal banner of the current Duke, His Royal Highness The Prince Charles. The arms are based upon those of the Chief of Clan Stewart of Appin, and represent in the 1st and 4th quarters the title of Great Steward of Scotland whilst the 2nd and 3rd quarters represent the title of Lord of the Isles. In the centre, to difference the arms from those of Appin, is placed an escutcheon bearing the arms of the heir apparent to the King of Scots.[2]
  ค.ศ. 2011 ธงประจำพระองค์เจ้าชายวิลเลียมแห่งเวลส์ ธงพื้นลายตราแผ่นดินประจำพระองค์ ชนิดใช้ในประเทศสกอตแลนด์ ตอนบนของธงมีแถบยาวสีขาวมีชายห้อย 3 ชาย ชายห้อยตอนกลางเป็นรูปสัญลักษณ์ ลักษณะคล้ายฝาหอยเชลล์ (เรียกในภาษาอังกฤษว่า Escallop) รูปนี้มีสีแดง เป็นสัญลักษณ์หมายถึงเจ้าหญิงไดอานา ผู้เป็นพระราชมารดา.
  ค.ศ. 1986 ธงประจำพระองค์เจ้าฟ้าชายแอนดรูว์ ดยุคแห่งยอร์ค ธงลายตราประจำพระองค์ ชนิดใช้ในประเทศสกอตแลนด์ ตอนบนของธงมีแถบยาวสีขาวมีชายห้อย 3 ชาย ชายห้อยตอนกลางเป็นรูปสมอสีน้ำเงิน.[2]
  ค.ศ. 1999 ธงประจำพระองค์เจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ ธงลายตราประจำพระองค์ ชนิดใช้ในประเทศสกอตแลนด์ ตอนบนของธงมีแถบยาวสีขาวมีชายห้อย 3 ชาย ชายห้อยตรงกลางมีรูปดอกกุหลาบแห่งทิวดอร์.[2]
  ค.ศ. 1987 ธงประจำพระองค์เจ้าฟ้าหญิงแอนน์ พระวรราชกุมารี ธงลายตราประจำพระองค์ ชนิดใช้ในประเทศสกอตแลนด์ ตอนบนของธงมีแถบยาวสีขาวมีชายห้อย 3 ชาย ชายห้อยตอนนอกทั้งสองเป็นรูปกางเขนสีแดง ตอนกลางเป็นรูปหัวใจสีแดง.[2]

ธงประจำเขตการปกครองท้องถิ่น แก้

ธงประจำเคาน์ตี แก้

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
  Since 2007 Flag of Orkney Red, with a blue Scandinavian Cross outlined in yellow that extends to the edges of the flag. The colours from the Royal Standards of Scotland and of Norway and the Flag of Scotland.[5]
  Created 1969, enrolled in 2005 Flag of Shetland Blue, with a white Scandinavian Cross. The colours of the Scottish flag.[5]

Local authorities แก้

Flag Date Use Description
  Flag of Aberdeen Three white/grey castles on a red field, a heraldic flag taken from the city council's coat of arms.
  Flag of Angus A heraldic flag derived from the arms of Angus Council, consisting of four quarters containing a red crowned lion passant, a gold cinquefoil, a blue-white checked strip crossed with buckled red belt, and a depiction of the heart of Robert the Bruce to represent the four ancient earldoms of Angus.[6]
  Flag of Edinburgh A heraldic flag derived from the arms of Edinburgh Council.[7]
  Flag of the Outer Hebrides (and the council area Comhairle nan Eilean Siar)

ธงในอดีต แก้

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
  - ค.ศ. 1707 ธงเรือแดงสก็อตแลนด์ ใช้ในราชนาวีสก็อตแลนด์ ธงพื้นแดง มีรูปธงชาติสก็อตแลนด์ที่มุมธงบนด้านคันธง
  ค.ศ. 1606 - 1707 ธงสหภาพแบบแรกสุด สำหรับใช้ในสก็อตแลนด์ ธงสหภาพ ซึ่งใช้ในสก็อตแลนด์ก่อน ค.ศ. 1707 นี้[ต้องการอ้างอิง] เป็นการเอารูปกากบาทของธงชาติสก็อตแลนด์ มาซ้อนทับบนรูปกางเขนของธงชาติอังกฤษ
  - ค.ศ. 2007 Former (unofficial) flag of Orkney The Cross of St Magnus. (An official version has now been adopted).
- ค.ศ. 2007 Another former (unofficial) flag of Orkney Flag based upon the coat of arms of Orkney (An official version has now been adopted).

ธงราชการ แก้

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ธงคณะผู้รักษาประภาคารเขตเหนือ (Commissioners of the Northern Lights) ธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร มีรูปประภาคารสีขาวที่ด้านปลายธง
  ธงประธานคณะผู้รักษาประภาคารเขตเหนือ (Northern Lighthouse Board Commissioners Flag) ธงพื้นสีขาว ที่ด้านคันธงมีธงชาติสหราชอาณาจักร ก่อน พ.ศ. 2344 ส่วนปลายธงนั้นมีรูปประภาคารสีน้ำเงิน ธงนี้เป็นธงเดียวมีมีธงชาติยุคก่อน พ.ศ. 2344 ประกอบอยู่ในธง
  ธงองค์การคุ้มครองการประมงแห่งสกอตแลนด์ (Scottish Fisheries Protection Agency) ธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร ที่ด้านปลายธงมีตราประจำหน่วยงาน
ธงศาสนจักรแห่งสกอตแลนด์ The Flag of Scotland with the burning bush in the centre.[8]

เชิงอรรถ แก้

  1. 1.0 1.1 Bartram, Graham (2009). "The Story of Scotland's Flags". The XIX International Congress of Vexillology, 23–27 July 2001, Proceedings (PDF). United Kingdom: The Flag Institute. pp. 168–171. สืบค้นเมื่อ 23 June 2009.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 Bartram, Graham. "United Kingdom Royal and vice-regal flags". Ruislip: The World Flag Database.
  3. "The 'Lion Rampant' Flag". Edinburgh: The Court of the Lord Lyon. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-05. สืบค้นเมื่อ 28 December 2008.
  4. British Royal Flags: Prince Charles ที่ Flags of the World (อังกฤษ)
  5. 5.0 5.1 Bartram, Graham. "United Kingdom Sub-national flags". Ruislip: The World Flag Database.
  6. "Council flag plan causes flutter". BBC News. 26 September 2007.
  7. "UK Flag Registry". Flaginstitute.org. 2012-08-20. สืบค้นเมื่อ 2012-11-14.
  8. Bartram, Graham. "United Kingdom Civilian flags". Ruislip: The World Flag Database.

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Flags of Scotland

แม่แบบ:Scotland topics