รายชื่อดินแดนที่จักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครอง

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

นี่คือดินแดนที่ถูกยึดครองโดยจักรวรรดิญี่ปุ่นจนถึงปี ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488)

แผนที่ดินแดนทั้งหมดของจักรวรรดิญี่ปุ่น

ก่อน–สงครามโลกครั้งที่สอง

แก้

อาณานิคม

แก้

ตำแหน่งยึดครอง

แก้

สงครามโลกครั้งที่สอง

แก้
ดินแดนที่อยู่ในการกำกับ ชื่อญี่ปุ่น วันที่ จำนวนประชากร (ในปี 2486) หมายเหตุ
ตอนใต้ของเกาะซาฮาลิน จังหวัดคาราฟูโตะในการปกครองของญี่ปุ่น (樺太庁) ก่อนสงคราม - 2488 406,000 หลังแพ้สงคราม ได้ส่งคืนดินแดนกลับไปเป็นของรัสเซียดั่งเดิม (ในนามสหภาพโซเวียต)
จีนแผ่นดินใหญ่ เรียกชื่อแต่ละแห่งตามอักษรและเสียงภาษาญี่ปุ่น 2474 - 2488 200,000,000 (โดยประมาณ) ยึดครองดินแดนแมนจูกัว , จังหวัดเจโฮลของจีน, ดินแดนในอาณัติควางตุง, เจียงซู , เซี่ยงไฮ้, ซานตง , เฮเบ๋ย , ปักกิ่ง , เทียนจิน , รวมไปถึงเมืองกวางตุ้ง กวางสี, หูเป่ย, ยูนาน ฟู่เจี้ยน กุยเซา และมองโกเลียใน
ญี่ปุ่น ไนจิ (内地) ก่อนสงคราม - 2488 72,000,000 ดินแดนภายในประเทศญี่ปุ่น รวมไปถึงฮกไกโดและหมู่เกาะริวกิว (จังหวัดโอะกินะวะ)
เกาหลี โจเซน (朝鮮) ก่อนสงคราม - 2488 25,500,000 ต่อมาหลังแพ้สงครามจึงยกอำนาจการปกครองดินแดนให้แก่สหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกา ทำให้กลายมาเป็นสองประเทศคือเกาหลีเหนือและใต้ ในปัจจุบัน
ไต้หวัน ไทวัน (臺灣) ก่อนสงคราม - 2488 6,586,000 ยึดมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ชิง เมื่อแพ้สงครามได้ส่งคืนดินแดนกลับไปเป็นของประเทศจีนดั่งเดิม (ในนามสาธารณรัฐจีน (2455-2492))
ฮ่องกง ฮนคน (香港) 12 ธันวาคม 2484 - 15 สิงหาคม 2488 1,400,000 ยึดมาจากสหราชอาณาจักร
:: เอเชียตะวันออก (รวมทั้งหมด) - - 306,792,000
เวียดนาม อันนัน (安南) 15 กรกฎาคม 2483 - 29 สิงหาคม 2488 22,122,000 ยึดมาจากฝรั่งเศส
กัมพูชา คันปูจิอะ (カンプジア) 15 กรกฎาคม 2483 - 29 สิงหาคม 2488 3,100,000 ยึดมาจากฝรั่งเศส (ดูรายละเอียดได้ที่ การยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น)
ลาว ราโอสุ (ラオス) 15 กรกฎาคม 2483 - 29 สิงหาคม 2488 1,400,000 ยึดมาจากฝรั่งเศส
ไทย ไท (タイ) 8 ธันวาคม 2484 - 15 สิงหาคม 2488 16,216,000 แม้จะเป็นประเทศเอกราชก็จริง แต่ถูกญี่ปุ่นรุกรานดินแดนจนเกิดการปะทะกัน ในเวลาต่อมาก็ได้สงบศึกพร้อมด้วยการยอมลงนามในสัญญากับญี่ปุ่นในวันที่ 21 ธันวาคม 2484 กลายเป็นพันธมิตรร่วมในกองทัพฝ่ายอักษะเพื่อทำสงครามกับกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร (ดูรายละเอียดได้ที่ สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยและการบุกครองไทยของญี่ปุ่น)
มาเลเซียและบรูไน มารายะ (マラヤ) คิตะ โบรูเนโอะ (北ボルネオ) 27 มีนาคม 2485 - 6 กันยายน 2488 (มาลายา), 29 มีนาคม 2485 - 9 กันยายน 2488 (ซาราวัก บรูไน ซาบะฮ์) 4,938,000 และอีก 39,000 (โดยการรวมประชากรในขณะนั้นของประเทศมาเลเซียและบรูไนในปัจจุบัน) ยึดมาจากสหราชอาณาจักร
ฟิลิปปินส์ ฟิริปิน (フィリピン) 8 พฤษภาคม 2485 - 5 กรกฎาคม 2488 17,419,000 ยึดมาจากสหรัฐอเมริกา
อินโดนีเซีย ฮิงาชิ อินโดะ (東印度) 18 มกราคม 2485 - 21 ตุลาคม 2488 72,146,000 ยึดมาจากเนเธอร์แลนด์ (ดูรายละเอียดได้ที่ หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์)
สิงคโปร์ โชนัน โท (昭南島)  29 มีนาคม 2485 - 9 กันยายน 2488 822,000 ยึดมาจากสหราชอาณาจักร
พม่า บิรูมะ (ビルマ) 2485–2488 16,800,000 ยึดมาจากสหราชอาณาจักร (ดูรายละเอียดได้ที่ การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น)
ติมอร์-เลสเต ฮิงาชิ จิโมรุ (東チモール) 19 กุมภาพันธ์ 2485 - 2 กันยายน 2488 450,000 ยึดมาจากโปรตุเกส
:: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (รวมทั้งหมด) - - 155,452,000
นิวกินี นิวกินิอะ (ニューギニア) ​ 27 ธันวาคม 2484 - 15 กันยายน 2488 1,400,000 ยึดมาจากสหราชอาณาจักร
กวม โอมิยะ จิมะ (大宮島) 6 มกราคม 2485 - 24 ตุลาคม 2488 ยึดมาจากสหรัฐอเมริกา
แปซิฟิกใต้ในอาณัติ นันโย กุนโท (南洋群島) ​ 2462 - 2488 129,000 ยึดมาจากจักรวรรดิเยอรมัน
นาอูรู N/A 26 สิงหาคม 2485 - 13 กันยายน 2488 3,000 ยึดมาจากสหราชอาณาจักร
เกาะเวกของสหรัฐอเมริกา โอโทริ จิมะ (大鳥島) 27 ธันวาคม 2484 - 4 กันยายน 2488 ไม่มีประชากร ยึดมาจากสหรัฐอเมริกา
หมู่เกาะอัตตูและคิสกาของสหรัฐอเมริกา อาสึทะ จิมะ (熱田島) นารูคามิ จิมะ (鳴神島) 6 มิถุนายน 2485 - 27 กันยายน 2486 ไม่มีประชากร ยึดมาจากสหรัฐอเมริกา
คิริบาส N/A ธันวาคม 2484 - 22 มกราคม 2487 28,000 ยึดมาจากสหราชอาณาจักร (มีอีกชื่อหนึ่งคือ หมู่เกาะกิลเบิร์ต)
:: กลุ่มหมู่เกาะแปซิฟิกในอาณัติ (รวมทั้งหมด) - - 1,433,000
:: รวมประชากรทั้งหมดทั้งสิ้น - - 463,677,000

ข้อจำกัด: พื้นที่ทั้งหมดไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิญี่ปุ่น แต่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐ ซึ่งรวมแยกต่างหากสำหรับวัตถุประสงค์ด้านประชากร ที่มา: POPULSTAT Asia[3] Oceania[4]

อ้างอิง

แก้
  1. Gregory Smits (1999). Visions of Ryukyu: Early-Modern Thought and Politics. Honolulu: University of Hawai'i Press, 143–149·
  2. Leonard A. Humphreys (1995). 'The Way of the Heavenly Sword: The Japanese Army in the 1920s. Stanford University Press. p. 26.
  3. http://www.populstat.info/Asia/asia.html เก็บถาวร 2020-02-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Populstat ASIA
  4. http://www.populstat.info/Oceania/oceania.html เก็บถาวร 2020-02-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Populstat OCEANIA