รายชื่อดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่ทราบ

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

ตารางข้างล่างนี้ คือรายการของดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักกันโดยเรียงตามรัศมี หน่วยวัดที่ใช้คือจำนวนเท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ (ประมาณ 695,500 กิโลเมตรหรือ 432,450 ไมล์)

ภาพเปรียบเทียบขนาดของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะกับดาวฤกษ์ต่างๆ ที่รู้จักกันดีหลายดวง รวมถึง วีวาย สุนัขใหญ่
  1. ดาวพุธ < ดาวอังคาร < ดาวศุกร์ < โลก
  2. โลก < ดาวเนปจูน < ดาวยูเรนัส < ดาวเสาร์ < ดาวพฤหัสบดี
  3. ดาวพฤหัสบดี < ดาวหมาป่า 359 < ดวงอาทิตย์ < ดาวซิริอุส
  4. ดาวซิริอุส < ดาวพอลลักซ์ < ดาวอาร์คตุรุส < ดาวอัลดิบาแรน
  5. ดาวอัลดิบาแรน < ดาวไรเจล < ดาวแอนตาเรส < ดาวบีเทลจุส
  6. ดาวบีเทลจุส < ดาวมิว เซเฟย์ < ดาววีวี เซเฟย์ เอ < ดาววีวาย สุนัขใหญ่

ลำดับรายการที่แน่นอนนั้นยังไม่สมบูรณ์ และยังไม่สามารถระบุได้อย่างครบถ้วน เนื่องจาก

  • ค่าต่างๆ และขนาดของดาวยังมีความไม่แน่นอนสูง
  • ระยะห่างของดาวส่วนใหญ่ยังไม่แน่นอนอันเนื่องมาจากองศาที่แตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการวัดขนาดของดาว
  • ดาวฤกษ์ขนาดใหญ่หลายดวงมีชั้นบรรยากาศห่อหุ้ม ซึ่งอาจอยู่ในรูปของชั้นเปลือกฝุ่นที่เคลื่อนไหวไปมา ทำให้การประเมินรัศมีของดาวไม่อาจระบุได้อย่างแน่ชัด
  • มีเหตุผลทางทฤษฎีที่คาดได้ว่า ไม่มีดาวดวงใดในกาแล็กซีของเราจะมีขนาดใหญ่กว่า 1,500 เท่าของดวงอาทิตย์โดยประมาณ ทั้งนี้อ้างอิงจากแบบจำลองของวิวัฒนาการและขอบเขตความไร้เสถียรภาพของฮายาชิ ขีดจำกัดที่แน่นอนขึ้นอยู่กับค่าความเป็นโลหะของดาว ตัวอย่างเช่น ดาวยักษ์ใหญ่ในเมฆแมเจลแลนมีขีดจำกัดอุณหภูมิและความส่องสว่างที่แตกต่างกันเล็กน้อย ดาวฤกษ์ที่ใหญ่กว่าขีดจำกัดนี้จะพบว่าเข้าสู่การระเบิดใหญ่ และเปลี่ยนประเภทสเปกตรัมของดาวไปในเวลาเพียงไม่กี่เดือน
  • จากการสำรวจเมฆแมเจลแลน[1] ได้จัดประเภทดาวยักษ์แดงส่วนใหญ่เอาไว้ ในจำนวนนี้มีอยู่ 44 ดวงที่มีขนาดใหญ่กว่า 700 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นจุดตัดข้อมูลที่นำมาแสดงในตารางนี้ ดวงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือประมาณ 1,200-1,300 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์

รายชื่อ แก้

รายชื่อของดาวใหญ่ที่สุด
ชื่อดาว รัศมีดวงอาทิตย์
(ดวงอาทิตย์ = 1)
หมายเหตุ
ดาวสตีเฟนสัน 2-18 2,150 ใกล้กับคลัสเตอร์เปิด สตีเฟนสัน 2
LGGS J004539.99+415404.1 1,980–2,377 ตั้งอยู่ใน Andromeda Galaxy
MSX LMC 597 (W60 A27) 1,882–1,953 ตั้งอยู่ในเมฆแมเจลแลนใหญ่
LGGS J004520.67+414717.3 1,870–2,510 ตั้งอยู่ใน Andromeda Galaxy
UY Scuti (en) 1,708 ± 192[2] LGGS J004539.99+415404.1
ดาวเอ็นเอ็มแอล หงส์ 1,650[3]-2,775[4] MSX LMC 597 (W60 A27)
ดาววี 838 ยูนิคอร์น 380[5] - 1,570 ± 400 [6] LGGS J004520.67+414717.3
ดาวดับเบิลยูโอเอช จี64 1,540[7] ตั้งอยู่ในเมฆแมเจลแลนใหญ่
ดาวอาร์ดับเบิลยู เซเฟย์ 1,535[8] RW Cep is variable both in brightness (by at least a factor of 3) and spectral type (observed from G8 to M), thus probably also in diameter. Because the spectral type and temperature at maximum luminosity are not known, the quoted sizes are just estimates.
ดาววีเอ๊กซ์ คนยิงธนู 1,520[9] เป็นตัวแปรที่มีช่วงจังหวะมองเห็นขนาดใหญ่และแตกต่างกันไปอย่างมีนัยสำคัญในขนาด
ดาวเคดับเบิลยู คนยิงธนู 1,460[10]
ดาวเควาย หงส์ 1,420–2,850 [10] The upper estimate is due to an unusual K band measurement and thought to be an artifact of a reddening correction error. The lower estimate is consistent with other stars in the same survey and with theoretical models.
ดาววีวาย สุนัขใหญ่ 1,420 เดิมเคยเชื่อว่าเป็นดาวฤกษ์ที่มีขนาดใหญ่มากเสียจนขัดแย้งกับทฤษฎีวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ แต่ภายหลังเมื่อวิธีการตรวจวัดดีขึ้น จึงพบว่าดาวมีขนาดเล็กกว่าที่เคยคิดไว้และจะระเบิดแล้ว[11]
ดาววีวี หงส์ เอ 1,400[12] 1,050–1,900 VV Cep A is a highly distorted star in a close binary system, losing mass to the secondary for at least part of its orbit.
HR 5171 (en) 1,315[13]
ดาวมู เซเฟย์ (Herschel's "Garnet Star") 1,260[14]650[15]-1,420[10]
ดาวพีแซด แคสซิโอเปีย 1,190-1,940[10] The upper estimate is due to an unusual K band measurement and thought to be an artefact of a reddening correction error. The lower estimate is consistent with other stars in the same survey and with theoretical models.
ดาวบีไอ หงส์ 916[9]-1,240[10]
ดาววี354 เซเฟย์ 690[9]-1,520[10]
ดาวเอส เพอร์ซีย์ 780-1,230[10] In the Perseus Double Cluster
ดาวบีซี หงส์ 1,140[10]
ดาวอาร์ที กระดูกงูเรือ 1,090[10]
ดาววี396 คนครึ่งม้า 1,070[10]
ดาวซีเค กระดูกงูเรือ 1,060[10]
ดาววี1749 หงส์ 620-1,040[10]
ดาวอาร์เอส เพอร์ซีย์ 1,000[10] In the Perseus Double Cluster
ดาวเอ็นอาร์ หมาจิ้งจอก 980[10]
ดาวอาร์ดับเบิลยู หงส์ 980[10]
ดาววี602 กระดูกงูเรือ 860[10]
ดาวบีเทลจุส (Alpha Orionis) 950[16]
ดาวแอนตาเรส (อัลฟา แมงป่อง) 800
ดาวทีแซท แคสซิโอเปีย 800[10]
ดาวIX กระดูกงูเรือ 790[10]
ดาวเอสยู เพอร์เซย์ 780[10] In the Perseus Double Cluster
ดาวทีวี คนคู่ 770[10]
ดาววี355 เซเฟย์ 300[9]-770[10]
ดาววี382 กระดูกงูเรือ 700
ดาวที่รู้จักกันดีมีการระบุไว้ดังต่อไปนี้เพื่อการเปรียบเทียบ
ดาวซีอี วัว ("Ruby Star")[17] 608
ดาวเอส ม้าบิน 580[18]
ดาวดับเบิลยู งูไฮดรา 562[19]
ดาวที เซเฟย์ 540[20]
ดาวเอส นายพราน 530[21]
ดาวอาร์ แคสซิโอเปีย 500[22]
ดาวอาร์ กระต่ายป่า 500
ดาวอาร์ แอนดรอมีดา 485 ± 125
ดาวไช หงส์ 470[23]
ดาวอัลฟา เฮอร์คิวลิส (Ras Algethi) 460
ดาวอาร์ งูไฮดร้า 460
ดาวโร แคสซิโอเปีย 450
ดาวไมร่า เอ (Omicron Ceti) 400[24]
ดาววี509 แคสซิโอเปีย 400[25]–900[26]
ดาวเอส ปลากระโทงแทง 100–380[27]
ดาวยู นายพราน 370±96
ดาวอาร์ ปลากระโทงแทง 370
ดาวเอชอาร์ กระดูกงูเรือ 350
ดาวอาร์ สิงโต 350[28]
ดาววี337 กระดูกงูเรือ 350
ดาวฤกษ์ไพสทอล 340
ดาวเอส โคโลน่า โบเรียลิส 340
ดาววี381 เซเฟย์ 327
ดาวไพ ท้ายเรือ 290
ดาวไพส1 สารถี 271
ดาวซีดับเบิลยู สิงโต 250
ดาวหงส์ โอบี2-12 246
ดาวโอไมคอร์น1 สุนัขใหญ่ 231
ดาวลา ซุปเปอรฺ์บา (Y Canum Venaticorum) 215
ดาลเดลต้า สุนัขใหญ่ (Wezen) 215±66[29]
ดาววี810 คนครึ่งม้า 210
ดาวซีต้า สารถี (Haedus) 200[30]
ดาวเดลต้า2 ไลร่า 200
ดาวแลมบ์ด้า ใบเรือ (Al Suhail) 200
ดาวอาร์เอส ท้ายเรือ 200
ดาวอีต้า กระดูกงูเรือ (Tseen She) 85–195[31] เดิมเคยคิดว่าเป็นดาวฤกษ์เดี่ยวที่มีมวลมากที่สุด แต่ในปี ค.ศ. 2005 จึงได้พบว่ามันเป็นระบบดาวคู่
ดาวอีพซิลลอน ม้าบิน (Enif) 185
ดาวแอล กระดูกงูเรือ 179
ดาว6 แคสซิโอเปีย 170
ดาวโร เพอร์เซย์ (Gorgonea Tertia) 164
ดาวอีพซิลลอน กระดูกงูเรือ (Avior) 153
ดาวแกมม่า หงส์ (Sadir) 150
ดาวแอลบีวี 1806-20 150
ดาวอีพซิลลอน คนคู่ (Mebsuta) 150
ดาวอีพซิลลอน สารถี เอ (Almaaz) 135
ดาวมู คนเลี้ยงสัตว์ (Alkalurops) 130
ดาว66 แอนดรอมีดา 130
ดาวคิวเอส นกอินทรี 130
ดาวเอ็นโอ สารถี 130
ดาว56 นกอินทรี 130
ดาวแอล ท้ายเรือ 126
ดาวไอโอต้า แมงป่อง (Apollyon) 125
ดาวเดลต้า อโพดิส 125
ดาวเอชไอพี 110307 124.1
ดาว32 จี งูไฮดรา 121.7
ดาวไอ คาไรน่า 120
ดาวไซ ท้ายเรือ (Asmidiske) 120
ดาวมู คนยิงธนู (Polis) 115
ดาวโอไมคอร์น หงส์ 115
ดาวเดเนป 114
ดาววี533 กระดูกงูเรือ (VV Storm) 114
ดาวแกมม่า คูรคิส (Gacrux) 113[32]
ดาวเซต้า เซเฟย์ 110
ดาวแกมม่า นกอินทรี (Tarazed) 110
ดาว34 คนเลี้ยงสัตว์ 110
ดาวเบต้า อาร่า 110
ดาวอัลฟา ไตรแอนกิวไล ออสเตรลิส (Atria) 109
ดาวฤกษ์เพโอนี เนบูล่า 100
ดาวเบต้า ม้าบิน (Scheat) 95
ดาว17 คาเมโลปาร์ดาลิส 91.3
ดาวเบด้า แอนดรอมีดา (Mirach) 90
ดาวอาร์ สคิวไต 87.4
ดาวดับเบิลยูอาร์ 102อีเอ 86
ดาวนู เซเฟย์ 83.5
ดาวแกมม่า แอนดรอมีดา (Almach) 83
ดาวเธต้า เฮอร์คิวลิส (Rukbalgethi Genubi) 80
ดาววาร์ 83 80
ดาวไรเจล (Beta Orionis) 78
ดาวอัลฟา กระต่ายป่า (Arneb) 77
ดาวพี หงส์ 76
ดาวเบด้า ปลากระโทงแทง 76
ดาวดีแอล กางเขนใต้ 75-80
ดาวไพ เฮอร์คิวลิส 72
ดาว13 คนเลี้ยงสัตว์ 71
ดาวอาร์ กระต่ายป่า 70.4
ดาวเบต้า หงส์ A1 (Albireo) 70
ดาว62 คนยิงธนู 70
ดาวนู นกอินทรี (Equator Star) 66
ดาวอาร์ โคโรน่า โบเรียลิส 65
ดาวคาโนพัส (Alpha Carinae) 65
ดาวเดลต้า หญิงสาว (Auva) 65
ดาวเดลต้า คนยิงธนู (Kaus Media) 62
ดาวอัลฟา เพอร์เซย์ (Mirfak) 60
ดาวซีต้า คนคู่ (Mekbuda) 60
ดาวอีต้า นกอินทรี (Bezek) 60
ดาว89 เฮอร์คิวลิส 60
ดาวอัพไซลอน คนยิงธนู 60
ดาวอัลฟา คนแบกหม้อน้ำ (Sadalmelik) 60
ดาวซีพีดี -572874 60
ดาวไช นายพราน 59
ดาวอัลฟา เพอร์เซย์ (Mirfak) 56
ดาวไอโอต้า สารถี (Al Kab) 55
ดาวเอฟเอฟ นกอินทรี 55
ดาวอัลฟา อาโพดิส 55
ดาวเทา งู 54
ดาวเบด้า ปู (Tarf) 53
ดาวอัลฟา แอนต์เลีย 53
ดาวซีต้า¹ แมงป่อง 52
ดาวอัลพาร์ด (Alpha Hydrae) 50.5
ดาวแกมม่า ดราโคนิส (Eltanin) 50
ดาวเบต้า คนแบกหม้อน้ำ (Sadalsuud) 50
ดาวเอชดี 5980 เอ 48-160
ดาวอีพซิลลอน คนเลี้ยงสัตว์ (Izar) 48
ดาวซีต้า² แมงป่อง 48
ดาวเอจี แอนต์เลีย 47
ดาววี428 แอนดรอมีดา 46.3
ดาวเอชดี 13189 46
ดาวเอชดี 203857 46
ดาวอัลดิบาแรน (Alpha Tauri) 44.2[33]
ดาวโพลาริส (Alpha Ursae Minoris) 43.9
ดาวอัลฟา แคสซิโอเปีย (Schedar) 42
ดาวอัลฟา เซไต (Menkar) 42
ดาวเดลต้า เซเฟย์ (Alrediph) 41.6
ดาวเบต้า หมีเล็ก (Kochab) 41
ดาวเบต้า ดราโคนิส (Rastaban) 40
ดาวบีดี คาเมโลปาร์ดาลิส 40
ดาวเอชดี 5980 บี 40
ดาวอีต้า สุนัขใหญ่ (Aludra) 37.8
ดาว87 สิงโต 37
ดาวแกมม่า คนครึ่งม้า (Muhlifan) 36.5
ดาวเอส นอร์ม่า 35.6
ดาวอาร์136เอ1 35.4 Also on record as the most massive and luminous star known.
ดาวเชร์ 25 35
ดาวแกมม่า สิงโต (Algieba) 31.9
ดาวอัลฟา คาเมโลปาร์ดาลิส 31.2
ดาวอัลฟา หมีใหญ่ (Dubhe) 30
ดาว11 ลาเซอร์ต้า 30
ดาวเบต้า คาเมโลปาร์ดาลิส 30
ดาวหงส์ โอบี2-8 28
ดาวอีต้าสิงโต (Al Jabhah) 27
ดาวอาร์ อโพดิส 26.3
ดาวอีพซิลลอน นายพราน (Alnilam) 26
ดาวอีต้า พิสเซียม (Kullat Nunu) 26
ดาวเมลนิค 42 26
ดาวอาร์คตุรุส (Alpha Boötis) 25.7
ดาวเอชดี 93129เอ 25
ดาว11 หมีเล็ก 24.1
ดาวเอชดี 47536 23.5
ดาวอีพซิลลอน สิงโต (Algenubi) 23
ดาว42 ดราโคนิส 22 ± 1
ดาวอัลฟา เรไตคิวไล 21
ดาวไช หญิงสาว 20.9
ดาว19 เซเฟย์ 20–30
ดาวเอชดีอี226868 20-22 The supergiant companion of Cygnus X-1
ดาวซีต้า นายพราน (Alnitak) 20
ดาวเธต้า แมงป่อง (Sargas) 20
ดาวเบต้า เฮอร์คิวลิส (Kornephoros) 20
ดาวเธต้า อาโพดิส 20
ดาวอัลฟา คนยิงธนู (Alsahm) 20
ดาวเวสเตอร์ลูนด์ 2 19.3
ดาวเอชอาร์ 2422 โมโนเซโรติส (ดาวของปลาสเก็ตต์) 19.2
ดาวแคบปา แคสซิโอเปีย 19
ดาวเบต้า แมงป่อง (Acrab) 19
ดาวเบต้า ไลร่า (Sheliak) 19
ดาวซีต้า ท้ายเรือ (Naos) 18.6
ดาวอาร์ 122 18.5
ดาวเอชดี 93250 18
ดาวอัลฟา กล้องจุลทรรศน์ 17.5
ดาวแอลเอช45-425 เอ 17.5
ดาวอัพไซลอน ไฮดร้า 17.1
ดาวเบต้า เซไต (Deneb Kaitos) 17
ดาวอีพซิลลอน สุนัขใหญ่ (Adhara) 17
ดาวแอลวาย สารถี 16
ดาวเธต้า คนครึ่งม้า (Menkent) 16
ดาวเบต้า นกกา (Kraz) 16
ดาวเดลต้า นายพราน A (Mintaka) 15.8
ดาวนู คนแบกงู (Sinistra) 15.25
ดาวอัลฟา แกะ (Hamal) 15
ดาวแกมม่า แคสซิโอเปีย (Tsih) 14
ดาวเบต้า คนแบกงู (Celbalrai) 13.2
ดาว37 นกอินทรี 13
ดาวเอชดี 240210 13
ดาวอัลฟา คนครึ่งม้า เอ (Capella A) 12.2
ดาวไซ นกอินทรี 12
ดาวแกมม่า อาร่า 12
ดาวแกมม่า คนยิงธนู (Alnasl) 11
ดาวแอลเอช45-425 บี 10
ดาววีวี เซเฟย์ บี 10

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. doi:10.1086/504417
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  2. Arroyo-Torres, B.; Wittkowski, M.; Marcaide, J. M.; Hauschildt, P. H. (2013). "The atmospheric structure and fundamental parameters of the red supergiants AH Scorpii, UY Scuti, and KW Sagittarii". Astronomy & Astrophysics. 554: A76. arXiv:1305.6179. Bibcode:2013A&A...554A..76A. doi:10.1051/0004-6361/201220920.
  3. doi:10.1051/0004-6361/201219587
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  4. Zhang, B.; Reid, M. J.; Menten, K. M.; Zheng, X. W.; Brunthaler, A. (2012). "The distance and size of the red hypergiant NML Cygni from VLBA and VLA astrometry". Astronomy & Astrophysics. 544: A42. arXiv:1207.1850. Bibcode:2012A&A...544A..42Z. doi:10.1051/0004-6361/201219587.
  5. https://dx.doi.org/10.1051%2F0004-6361%2F201116858
  6. B. F. Lane, A. Retter, R. R. Thompson, J. A. Eisner (April 2005). "Interferometric Observations of V838 Monocerotis". The Astrophysical Journal Letters. 622 (2): L137–L140. arXiv:astro-ph/0502293. Bibcode:2005ApJ...622L.137L. doi:10.1086/429619.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  7. Emily M. Levesque, Philip Massey, Bertrand Plez, and Knut A. G. Olsen (June 2009). "The Physical Properties of the Red Supergiant WOH G64: The Largest Star Known?". Astronomical Journal. 137 (6): 4744. arXiv:0903.2260. Bibcode:2009AJ....137.4744L. doi:10.1088/0004-6256/137/6/4744.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  8. Humphreys, R. M. (1978). "Studies of luminous stars in nearby galaxies. I. Supergiants and O stars in the Milky Way". The Astrophysical Journal Supplement Series. 38: 309. Bibcode:1978ApJS...38..309H. doi:10.1086/190559.
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 Nicolas Mauron; Eric Josselin (2010). "The mass-loss rates of red supergiants and the de Jager prescription". arXiv:1010.5369 [astro-ph.SR].
  10. 10.00 10.01 10.02 10.03 10.04 10.05 10.06 10.07 10.08 10.09 10.10 10.11 10.12 10.13 10.14 10.15 10.16 10.17 10.18 10.19 10.20 Table 4 in Emily M. Levesque, Philip Massey, K. A. G. Olsen, Bertrand Plez, Eric Josselin, Andre Maeder, and Georges Meynet (August 2005). "The Effective Temperature Scale of Galactic Red Supergiants: Cool, but Not As Cool As We Thought". The Astrophysical Journal. 628 (2): 973–985. arXiv:astro-ph/0504337. Bibcode:2005ApJ...628..973L. doi:10.1086/430901.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  11. Wittkowski, M.; Hauschildt, P. H.; Arroyo-Torres, B.; Marcaide, J. M. (April 2012). "Fundamental properties and atmospheric structure of the red supergiant VY Canis Majoris based on VLTI/AMBER spectro-interferometry". Astronomy and Astrophysics. 540: L12. arXiv:1203.5194. Bibcode:2012A&A...540L..12W. doi:10.1051/0004-6361/201219126. ISSN 0004-6361.
  12. Ridpath & Tirion 2001, pp. 112–113.
  13. Chesneau, O.; Meilland, A.; Chapellier, E.; Millour, F.; Van Genderen, A. M.; Nazé, Y.; Smith, N.; Spang, A.; Smoker, J. V.; Dessart, L.; Kanaan, S.; Bendjoya, Ph.; Feast, M. W.; Groh, J. H.; Lobel, A.; Nardetto, N.; Otero, S.; Oudmaijer, R. D.; Tekola, A. G.; Whitelock, P. A.; Arcos, C.; Curé, M.; Vanzi, L. (2014). "The yellow hypergiant HR 5171 A: Resolving a massive interacting binary in the common envelope phase". Astronomy & Astrophysics. 563: A71. arXiv:1401.2628v2. Bibcode:2014A&A...563A..71C. doi:10.1051/0004-6361/201322421.
  14. Josselin, E.; Plez, B. (2007). "Atmospheric dynamics and the mass loss process in red supergiant stars". Astronomy and Astrophysics. 469 (2): 671–680. arXiv:0705.0266. Bibcode:2007A&A...469..671J. doi:10.1051/0004-6361:20066353.
  15. Tsuji, Takashi (2000). "Water in Emission in the Infrared Space Observatory Spectrum of the Early M Supergiant Star μ Cephei". The Astrophysical Journal Letters. 540 (2): 99–102. arXiv:astro-ph/0008058. Bibcode:2000ApJ...540L..99T. doi:10.1086/312879.
  16. Graham M. Harper; และคณะ (2008). "A NEW VLA-HIPPARCOS DISTANCE TO BETELGEUSE AND ITS IMPLICATIONS". The Astronomical Journal. 135 (4): 1430–1440. Bibcode:2008AJ....135.1430H. doi:10.1088/0004-6256/135/4/1430.
  17. "Big and Giant Stars"
  18. http://vizier.u-strasbg.fr/viz-bin/VizieR-5?-out.add=.&-source=II/224/cadars&recno=10781
  19. http://vizier.u-strasbg.fr/viz-bin/VizieR-5?-out.add=.&-source=II/224/cadars&recno=6127
  20. http://vizier.u-strasbg.fr/viz-bin/VizieR-5?-out.add=.&-source=II/224/cadars&recno=9837
  21. http://vizier.u-strasbg.fr/viz-bin/VizieR-5?-out.add=.&-source=II/224/cadars&recno=2512
  22. http://vizier.u-strasbg.fr/viz-bin/VizieR-5?-out.add=.&-source=II/224/cadars&recno=10947
  23. http://vizier.u-strasbg.fr/viz-bin/VizieR-5?-out.add=.&-source=II/224/cadars&recno=9107
  24. http://www.eso.org/~mwittkow/publications/conferences/SPIECWo5491199.pdf
  25. http://vizier.u-strasbg.fr/viz-bin/VizieR-5?-out.add=.&-source=II/224/cadars&recno=10628
  26. Nugent, Richard. "The Garnet Star". weblore.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-19. สืบค้นเมื่อ 2009-12-04. DIAM .. m Cep 1224 ... V509 CAS 910 ... V382 CAR 747
  27. Lamers, H. J. G. L. M. (February 6–10, 1995). "Observations and Interpretation of Luminous Blue Variables". ASP Conference Series. 83: 176–191. Bibcode:1995ASPC...83..176L.
  28. Fedele; Wittkowski; Paresce; Scholz; Wood; Ciroi (2004). "The K-band intensity profile of R Leonis probed by VLTI/VINCI". Astronomy and Astrophysics. 431 (3): 1019–1026. arXiv:astro-ph/0411133. Bibcode:2005A&A...431.1019F. doi:10.1051/0004-6361:20042013.
  29. Davis J, Booth AJ, Ireland MJ, Jacob AP, North JR, Owens SM, Robertson JG, Tango WJ, Tuthill PG, J.; Booth, A. J.; Ireland, M. J.; Jacob, A. P.; North, J. R.; Owens, S. M.; Robertson, J. G.; Tango, W. J.; Tuthill, P. G. (2007). "The Emergent Flux and Effective Temperature of Delta Canis Majoris". Publications of the Astronomical Society of Australia. 24 (3): 151. arXiv:0709.3873. Bibcode:2007PASA...24..151D. doi:10.1071/AS07017.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  30. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-21. สืบค้นเมื่อ 2012-10-01.
  31. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-26. สืบค้นเมื่อ 2012-10-01.
  32. Gamma Crucis by Jim Kaler
  33. Richichi, A.; Roccatagliata, V. (2005). "Aldebaran's angular diameter: how well do we know it?". Astronomy and Astrophysics. 433: 305–312. arXiv:astro-ph/0502181. Bibcode:2005A&A...433..305R. doi:10.1051/0004-6361:20041765.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้