รายชื่อสถาบันแพทยศาสตร์ในประเทศไทย

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาแพทยศาสตร์โดยได้รับการรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตโดยแพทยสภา [1]

ชื่อ สังกัด ปีที่ก่อตั้ง[2]
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล 2433
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2490
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2502
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล 2508
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2515
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2515
วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก 2518
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2528
วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต 2532
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2533
คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 2536
สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2536
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร 2537
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพา 2545
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2546
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2548
วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2549
สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 2549
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยพะเยา 2551
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยสยาม 2553
สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2555
วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2555 (หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ. 2567)
คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2559 *
วิทยาลัยแพทยศาสตร์ศรีสวางควัฒน ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ 2559 *
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 2564 *
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น 2564 *
คณะแพทยศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก สถาบันพระบรมราชชนก 2565 * (หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ. 2566 ผ่านการรับรองจากแพทยสภาแล้ว)
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [3] มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [4] 2565 * (หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ. 2567 ผ่านการรับรองจากแพทยสภาแล้ว[5])
  • โรงเรียนแพทย์ใหม่ที่นิสิต/นักศึกษาแพทย์รุ่นแรกยังไม่จบการศึกษา ต้องได้รับการประเมินซ้ำจาก สมพ.ทุกปี *[6]

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "โรงเรียนแพทย์ภายในประเทศ ที่แพทยสภารับรอง". แพทยสภา. 2020-09-30. สืบค้นเมื่อ 2021-08-03.
  2. อ้างตามปีที่ระบุไว้ในหน้าบทความนั้น ๆ
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2565 เล่มที่ 139 ตอนที่ 305 ง พิเศษ หน้าที่ 35 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 139 ตอนพิเศษ 305 ง เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2565 , สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2565
  4. สำนักงานเลขาธิการแพทยสภา , รายชื่อสถาบัน ที่ผ่านการรับรองจากสถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ (สมพ.) หรือ Institute for Medical Education Accreditation (IMEAc) ตามมาตรฐานสากล WFME เก็บถาวร 2021-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2566
  5. แพทยสภา, ประกาศแพทยสภา เรื่อง แพทยสภาให้การรับรองคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผ่านการตรวจประเมินหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม่ 2567 ประกาศ ณ วันที่ 15 กันยายน 2566สืบค้นเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2566
  6. สำนักงานเลขาธิการแพทยสภา , รายชื่อสถาบัน ที่ผ่านการรับรองจากสถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ (สมพ.) หรือ Institute for Medical Education Accreditation (IMEAc) ตามมาตรฐานสากล WFME เก็บถาวร 2021-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2566