ราชวงศ์ตรอซ็อกผแอม
ราชวงศ์ตรอซ็อกผแอม[1] (เขมร: រាជត្រកូលត្រសក់ផ្អែម เรียจฺตระกูลตราซอกฺผะแอม)[ต้องการอ้างอิง] หรือ ราชวงศ์แตงหวาน[2] สถาปนาโดยพระเจ้าตรอซ็อกผแอม[3][4] (เอกสารไทยเรียก ตาแตงหวาน) หรือพระบาทองค์ชัยพระมหากษัตริย์ แห่งอาณาจักรพระนครหลวง เมื่อปี ค.ศ. 1336 เป็นราชวงศ์ที่ปกครองกัมพูชาถัดจากราชวงศ์มหิธรปุระ พระมหากษัตริย์พระองค์แรกคือ พระเจ้าแตงหวาน และพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายคือ สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี (นักองค์ด้วง)
เขมร: រាជត្រកូលត្រសក់ផ្អែម | |
พระราชอิสริยยศ | พระมหากษัตริย์กัมพูชา |
---|---|
ปกครอง | ราชอาณาจักรกัมพูชา |
บรรพบุรุษ | พระเจ้าแตงหวาน |
สาขา | |
จำนวนพระมหากษัตริย์ | 56 พระองค์ |
ประมุขพระองค์แรก | พระเจ้าแตงหวาน |
ผู้นำสกุลองค์ปัจจุบัน | พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี |
ประมุขพระองค์สุดท้าย |
|
ช่วงระยะเวลา |
|
สถาปนา | ค.ศ. 1336 (688 ปี) |
สิ้นสุด |
|
เชื้อชาติ | เขมร,จาม |
ราชวงศ์ตรอซ็อกผแอมมีพระมหากษัตริย์ปกครองจำนวน 48 พระองค์ มีราชสกุลสาขา คือ ราชสกุลนโรดม ราชสกุลสีสุวัตถิ์ และราชสกุลวัตถา
ลำดับวงศ์ตระกูลของกษัตริย์กัมพูชาในสมัยปฏิวัติอังกอร์
แก้พระเจ้าแตงหวาน r.1336-1340 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พระบรมนิพพานบท r.1340-1346 | พระสิทธานราชา r.1346-1347 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พระศรีสุริโยวงษ์ r.1357-1363 | พระบรมลำพงษ์ราชา r.1347-1352 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พระศรีสุริโยวงษ์ 2 | พระบรมรามา r.1363-1373 | พระเจ้าธรรมโศรกราช r.1373-1393 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ) 1396–1466 r.1432-1463 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อ้างอิง
แก้- ↑ นักองค์นพรัตน (เขียน) เรืองเดชอนันต์ (ทองดี), พันตรี หลวง (แปล). ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณแปลใหม่. พระนคร : โสภณพิพรรฒธนากร. 2460, หน้า 66
- ↑ ประชุมพงศาวดารภาคที่ 71. พระนคร : กรุงเทพบรรณาคาร. 2481 , หน้า ข
- ↑ Renowned for its ability to grow tasty cucumbers," according to A. Dauphin-Meunier, History of Cambodia.
- ↑ Phoeun, Mak (1995). Histoire du Cambodge: de la fin du XVIe siècle au début du XVIIIe (in French). Presses de l'Ecole française d'Extrême-Orient. p. 30. ISBN 978-2-85539-776-4.