รัฐอารักขาเมโสโปเตเมีย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรในอาณัติของสหราชอาณาจักร (อาหรับ: الانتداب البريطاني على العراق al-Intidāb al-Brīṭānī ‘Alá al-‘Irāq) สถาปนาประเทศเมื่อ ค.ศ. 1921 ภายหลังการปฏิวัติอาหรับในปี ค.ศ. 1920 ภายใต้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยเมโสโปเตเมียในอาณัติอันเป็นจุดเริ่มต้นของสนธิสัญญาอิรัก-สหราชอาณาจักรเมื่อ ค.ศ. 1922.

ราชอาณาจักรในอาณัติของสหราชอาณาจักร

الانتداب البريطاني على العراق
1921–1932
เพลงชาติ(1924–1932)
อัสซาลาม อัลมาลิกกี السلام الملكي
Es Salaam al-Malaky
สันติภาพแด่กษัตริย์
ที่ตั้งของอิรัก
สถานะอาณาเขตในอาณัติของสหราชอาณาจักร
เมืองหลวงแบกแดด
ภาษาทั่วไปอาหรับ · Kurdish
Assyrian language · เปอร์เซีย
ศาสนา
อิสลาม · Christianity
ยูดาย · Yazidism
Mandaeism
พระมหากษัตริย์ 
ข้าหลวงใหญ่ 
• 1921-1923
เซอร์ Percy Zachariah Cox
• 1923-1928
เซอร์ Henry Robert Conway Dobbs
• 1928-1929
เซอร์ Gilbert Falkingham Clayton
• 1929-1932
เซอร์ Francis Henry Humphrys
ยุคประวัติศาสตร์สมัยระหว่างสงคราม
26 เมษายน 1920
10 สิงหาคม 1921
1921
1930
• ประกาศอิสรภาพ
3 ตุลาคม 1932
พื้นที่
1932438,317 ตารางกิโลเมตร (169,235 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1932
3449000
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิออตโตมัน
ราชอาณาจักรอิรัก

ฟัยศ็อล บิน ฮุซัยน์ บิน อะลี อัลฮาชิมีได้รับการสถาปนาพระอิสริยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งซีเรียโดยสภาแห่งชาติซีเรีย ณ กรุงดามัสกัส เมื่อ มีนาคม ค.ศ. 1920 ต่อมาทางฝรั่งเศสได้ถอดพระอิสริยยศในระหว่างสงครามซีเรีย-ฝรั่งเศสเมื่อเดือนกรกฎาคม. แต่สหราชอาณาจักรโดยกองกำลังบริเตนในตะวันออกกลางได้ให้การรับรองฐานันดนในฐานะสมเด็จพระราชาธิบดี, โดยกองทัพอากาศ (RAF) เป็นผู้ควบคุมบังคับบัญชากองกำลังทหาร, โดยพฤตินัย; สหราชอาณาจักรได้บริหารปกครองดินแดนจนถึงปี ค.ศ. 1932.[1]

รัฐบาลพลเรือนได้เข้าบริหารประเทศช่วงระหว่างสงคราม โดยมีข้าหลวงใหญ่ เซอร์ เพอร์ซี ค๊อก, และ รักษาการณ์ผู้บังคับัญชากองทหาร พันเอก อารืโนลด์ วิลสัน. ได้เข้าควบคุมสถานการณ์ภายหลังนายทหารอังกฤษถูกฆ่าที่เมืองนาจาฟ อันเป็นจุดเริ่มต้นของขบวนการชาตินิยม และ การต่อต้านการปกครองของบริเตน ยกเว้นเขตปกครองตนเองเคอร์ดิสถานที่บริเตนยังให้ความดูแลอารักขา

ประวัติศาสตร์ แก้

ปฐมบท แก้

กษัตริย์ฟัยศ็อลขึ้นครองราชย์ แก้

ปีถัดมา แก้

การประกาศอิสรภาพ แก้

กองทัพ แก้

เศรษฐกิจ แก้

สัมปทานน้ำมัน แก้

ดูเพิ่ม แก้

เชิงอรรถ แก้

  1. Ethnicity, State Formation, and Conscription in Postcolonial Iraq: The Case of the Yazidi Kurds of Jabal Sinjar. JSTOR [1]

อ้างอิง แก้

  บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากประเทศศึกษา หอสมุดรัฐสภา

หนังสืออ่านเพิ่ม แก้

  • Barker, A. J. The First Iraq War, 1914-1918: Britain's Mesopotamian Campaign (New York: Enigma Books, 2009). ISBN 978-1-929631-86-5
  • Fuccaro, Nelida, " The Other Kurds" (London: IB Tauris, 1999)
  • Dodge, Toby "Inventing Iraq" (2009)
  • Fieldhouse, David K. Western Imperialism in the Middle East, 1914–1958 (2006)* Fisk, Robert. The Great War for Civilisation: The Conquest of the Middle East, (2nd ed. 2006),
  • Jacobsen, Mark. "'Only by the Sword': British Counter‐insurgency in Iraq," Small Wars and Insurgencies 2, no. 2 (1991): 323–63.
  • Simons, Geoff. Iraq: From Sumer to Saddam (2nd ed. 1994)
  • Sluglett, Peter. Britain in Iraq: Contriving King and Country, 1914–1932 (2nd ed. 2007)
  • Vinogradov, Amal. "The 1920 Revolt in Iraq Reconsidered: The Role of Tribes in National Politics," International Journal of Middle East Studies 3, no. 2 (1972): 123–39

แม่แบบ:ประเทศอิรัก แม่แบบ:Territories of the British Empire 33°20′N 44°23′E / 33.333°N 44.383°E / 33.333; 44.383