รัฐบาลทหารของกองทัพสหรัฐในเกาหลี

รัฐบาลทหารของกองทัพสหรัฐในเกาหลี (อังกฤษ: United States Army Military Government in Korea หรือ USAMGIK) เป็นองค์กรการปกครองอย่างเป็นทางการของทางตอนใต้ครึ่งหนึ่งของคาบสมุทรเกาหลี ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน ถึง 15 สิงหาคม ค.ศ. 1948

รัฐบาลทหารของกองทัพสหรัฐในเกาหลี

재조선미국육군사령부군정청
在朝鮮美國陸軍司令部軍政廳
1945–1948
ที่ตั้งในบริเวณตอนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี
ที่ตั้งในบริเวณตอนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี
สถานะรัฐบาลเฉพาะกาลในเขตยึดครองทหาร
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
โซล
ภาษาราชการเกาหลี, อังกฤษ
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด 
• ก.ย. 1945 – ส.ค. 1948
จอห์น อาร์. ฮอดจ์
ผู้ว่าราชการทหาร 
• ก.ย. 1945 – ธ.ค. 1945
อาร์คิบัลด์ วี. อาร์โนลด์
• ธ.ค. 1945 – ก.ย. 1947
อาร์เชอร์ แอล. เลิร์ช
• ต.ค. 1947 – ส.ค. 1948
วิลเลียม เอฟ. ดีน
• ส.ค. 1948 – มิ.ย. 1949
ชาลส์ จี. เฮลมิก
ยุคประวัติศาสตร์สงครามเย็น
15 สิงหาคม 1945
• ทหารสหรัฐเข้าประจำการในเกาหลีตอนใต้
8 กันยายน 1945
1 ตุลาคม 1946
10 พฤษภาคม 1948
• การสถาปนาสาธารณรัฐ
15–17 สิงหาคม 1948
สกุลเงินวอน, "A yen" scrip, ดอลลาร์สหรัฐ
รหัส ISO 3166KR
ก่อนหน้า
ถัดไป
เกาหลีของญี่ปุ่น
รัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐเกาหลี
สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี
เกาหลีใต้
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเกาหลีใต้
เกาหลีเหนือ
รัฐบาลทหารของกองทัพสหรัฐในเกาหลี
ฮันกึล
재조선미국육군사령부군정청
ฮันจา
在朝鮮美國陸軍司令部軍政廳
อาร์อาร์Jaejoseon Miyuk-gun Saryeongbu Gunjeongcheong
เอ็มอาร์Chaejosŏn Miyuk-gun Saryŏngbu Kunjŏngch'ŏng

ประเทศในช่วงเวลานั้นได้ห้อมล้อมด้วยความวุ่นวายทางการเมืองและเศรษฐกิจ ซึ่งเกิดขึ้นมาจากหลายสาเหตุ[1] ภายหลังผลกระทบจากการยึดครองของญี่ปุ่นยังคงเกิดขึ้นในเขตยึดครอง เช่นเดียวกับในเขตโซเวียตในทางตอนเหนือ^ ด้วยความไม่พอใจที่แพร่หลายซึ่งได้เกิดขึ้นจากการสนับสนุนของรัฐบาลทหารสหรัฐแก่รัฐบาลอาณานิคมญี่ปุ่น จากนั้นก็ได้ยุบตัว แต่ยังคงให้อดีตผู้ว่าการญี่ปุ่นอยู่ต่อในฐานะที่ปรึกษา โดยการละเลยเพิกเฉย การตรวจข่าวกรอง และยกเลิกกฏข้อบังคับใช้และความนิยมต่อสาธารณรัฐประชาชนเกาหลี(People's Republic of Korea หรือ PRK) และท้ายที่สุดโดยการสนับสนุนการเลือกตั้งของสหประชาชาติที่ได้มีการแบ่งแยกประเทศ[2]

นอกจากนี้กองทัพสหรัฐไม่ได้เตรียมความพร้อมมาก่อนสำหรับความท้าทายในการบริหารประเทศโดยไม่ได้รับความรู้ทางด้านภาษาหรือสถานการณ์ทางการเมือง^ ดังนั้นนโยบายจำนวนมากของพวกเขามีผลกระทบที่จะก่อให้เกิดความวุ่นวายโดยไม่ได้ตั้งใจ คลื่นของผู้ลี้ภัยจากเกาหลีเหนือ (ประมาณ 400,000 คน)^ และผู้ที่กลับมาจากต่างประเทศก็ได้ทำให้ประเทศตกอยู่ในความสับสันวุ่นวายเช่นนี้^

หมายเหตุ แก้

  1. ^ Allan R. Millet, The War for Korea: 1945–1950 (2005) P. 59
  2. ^ Lee (1984, p. 374); Cumings (1997, p. 189).
  3. ^ Cumings, 1997, p. 189. Nahm (1996, p. 340) gives "Eighth Army", reflecting the Corps' later affiliation.
  4. ^ Nahm, Cumings, loc. cit.
  5. ^ Nahm (1996, p. 351); Lee (1984, p. 375).
  6. ^ Nahm (1996, p. 340).
  7. ^ Lee (1984, p. 375).
  8. ^ Nahm (1996, pp. 330–332); Lee (1984, p. 374).
  9. ^ Nahm (1996, p. 340).
  10. ^ Nahm (1996, p. 340).

อ้างอิง แก้

  1. Chang, Kornel (2020). "Independence without Liberation: Democratization as Decolonization Management in U.S.-Occupied Korea, 1945–1948". Journal of American History (ภาษาอังกฤษ). 107 (1): 77–106. doi:10.1093/jahist/jaaa009. ISSN 0021-8723.
  2. Hart-Landsberg, Martin (1998). Korea: Division, Reunification, & U.S. Foreign Policy. Monthly Review Press. pp. 63–67, 70–77.