รัฐนิวบรันสวิก (อังกฤษ: New Brunswick) เป็นรัฐในกลุ่มรัฐภาคพื้นสมุทร 1 ใน 3 ของแคนาดา และเป็นรัฐที่ใช้สองภาษาเป็นหลัก (ภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษ) ในสมาพันธรัฐ[7] มีเมืองหลวงคือเฟรดริกตัน สถิติจำนวนประชากรของรัฐในปี 2009 อยู่ที่ 748,319 โดยส่วนใหญ่พูดภาษาอังกฤษ แต่ส่วนใหญ่สามารถสื่อสารภาษาฝรั่งเศสได้ (32%) ส่วนใหญ่คืออคาเดีย

นิวบรันสวิก

Nouveau-Brunswick  (ฝรั่งเศส)
ธงของนิวบรันสวิก
ธง
ตราราชการของนิวบรันสวิก
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
ละติน: Spem reduxit[1]
("Hope restored")
พิกัด: 46°30′00″N 66°00′00″W / 46.50000°N 66.00000°W / 46.50000; -66.00000พิกัดภูมิศาสตร์: 46°30′00″N 66°00′00″W / 46.50000°N 66.00000°W / 46.50000; -66.00000
ประเทศแคนาดา
เข้าร่วมสมาพันธ์1 กรกฎาคม ค.ศ. 1867 (ลำดับที่ 1 ร่วมกับรัฐออนแทรีโอ, รัฐเกแบ็ก และรัฐโนวาสโกเชีย)
เมืองหลวงเฟรดริกตัน
เมืองใหญ่สุดมองก์ตัน
เขตมหานครใหญ่สุดเกรเทอร์มองก์ตัน
การปกครอง
 • ประเภทราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
 • องค์กรรัฐบาลนิวบรันสวิก
 • Lieutenant GovernorBrenda Murphy
 • นายกเทศมนตรีBlaine Higgs (Progressive Conservatives)
LegislatureLegislative Assembly of New Brunswick
Federal representationParliament of Canada
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร10 จาก 338 (3%)
สมาชิกวุฒิสภา10 จาก 105 (9.5%)
พื้นที่
 • ทั้งหมด72,907 ตร.กม. (28,150 ตร.ไมล์)
 • พื้นดิน71,450 ตร.กม. (27,590 ตร.ไมล์)
 • พื้นน้ำ1,458 ตร.กม. (563 ตร.ไมล์)  2%
อันดับพื้นที่อันดับที่ 11
 ร้อยละ 0.7 ของแคนาดา
ประชากร
 (2016)
 • ทั้งหมด747,101 [2] คน
 • ประมาณ 
(2021 ไตรมาสที่ 1)
782,078 [3] คน
 • อันดับอันดับที่ 8
 • ความหนาแน่น10.46 คน/ตร.กม. (27.1 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมนิวบรันสวิกเกอร์
FR: Néo-Brunswickois(e)
ภาษาราชการ[4]
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
 • อันดับ9
 • ทั้งหมด (2017)C$36.088 พันล้าน[5]
 • ต่อหัวC$42,606 (อันดับที่ 11)
ดัชนีการพัฒนามนุษย์
 • HDI (2018)0.889[6]สูงมาก (อันดับที่ 12)
เขตเวลาUTC-04:00 (แอตแลนติก)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC-03:00 (แอตแลนติก DST)
รหัสไปรษณีย์NB
คำนำหน้ารหัสไปรษณีย์E
รหัส ISO 3166CA-NB
ดอกไม้เพอร์เพิลไวโอเล็ต
ต้นไม้บัลซัมเฟอร์
นกBlack-capped chickadee
* อันดับนับรวมทั้งรัฐและดินแดน
รัฐนิวบรันสวิก Legislative Building in เฟรดริกตัน

ที่มาของชื่อรัฐมาจากการแปลภาษาอังกฤษและฝรั่งเศศของเมืองเบราน์ชไวค์ ทางตอนเหนือของเยอรมนี ที่ประสูติของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

อ้างอิง แก้

  1. Ann Gorman Condon. "Winslow Papers >> Ann Gorman Condon >> The New Province: Spem Reduxit". University of New Brunswick. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มีนาคม 3, 2016. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 8, 2016.
  2. "Population and dwelling counts, for Canada, provinces and territories, 2011 and 2006 censuses". Statcan.gc.ca. กุมภาพันธ์ 8, 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มีนาคม 7, 2014. สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 8, 2012.
  3. "Population by year of Canada of Canada and territories". Statistics Canada. กันยายน 26, 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มิถุนายน 19, 2016. สืบค้นเมื่อ กันยายน 29, 2018.
  4. "My Linguistic Rights". Office of the Commissioner of Official Languages for New Brunswick. สืบค้นเมื่อ March 7, 2019.
  5. Statistics Canada (11 September 2019). "Table: 36-10-0222-01 Gross domestic product, expenditure-based, provincial and territorial, annual (x 1,000,000)". สืบค้นเมื่อ 11 September 2019.
  6. "Sub-national HDI - Subnational HDI - Global Data Lab". globaldatalab.org. สืบค้นเมื่อ 2020-06-18.
  7. Section Sixteen of the Canadian Charter of Rights and Freedoms.