รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 11 ซึ่งพลเรือเอกสงัด ชลออยู่ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ให้ทรงลงพระปรมาภิไธย ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2519 และประกาศใช้ในวันเดียวกัน โดยรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 29 มาตรา ซึ่งในมาตรา 21 ได้นำมาตรา 17 ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์กลับมาใช้[1]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2519
หน้าแรกของรัฐธรรมนูญ
ภาพรวม
ท้องที่ใช้ประเทศไทย ประเทศไทย
สร้างขึ้น22 ตุลาคม พ.ศ. 2519[1]
เสนอ22 ตุลาคม พ.ศ. 2519[1]
วันประกาศ22 ตุลาคม พ.ศ. 2519[1]
มีผลใช้บังคับ22 ตุลาคม พ.ศ. 2519[1]
ระบบรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
โดยพฤตินัย เผด็จการทหาร
โครงสร้างรัฐบาล
ฝ่าย3
ประมุขแห่งรัฐพระมหากษัตริย์
ฝ่ายนิติบัญญัติสภาเดียว (สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน)
ฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี, นำโดย นายกรัฐมนตรี
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน, นำโดย หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
ฝ่ายตุลาการศาลไทย
ระบอบรัฐเดี่ยว
คณะผู้เลือกตั้งไม่มี
นิติบัญญัติชุดแรก20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
บริหารชุดแรก8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ตุลาการชุดแรก1 ตุลาคม พ.ศ. 2520
ยกเลิก20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
ผู้ยกร่างคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
ผู้ลงนามสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
ฉบับก่อนหน้ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
เอกสารฉบับเต็ม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519 ที่วิกิซอร์ซ
วิกิซอร์ซ

สิ้นสุด

แก้

รัฐธรรมนูญฉบับนี้สิ้นสุดลงตามข้อ 1 ของประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2520[2]

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๙" (PDF), ราชกิจจานุเบกษา, 22 ตุลาคม 1976
  2. "ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒" (PDF), ราชกิจจานุเบกษา, 20 ตุลาคม 1977