รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
รัฐธรรมนูญไทย
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
มีข้อสงสัยว่าบทความนี้อาจละเมิดลิขสิทธิ์ แต่ระบุไม่ได้ชัดเจนเพราะขาดแหล่งที่มา หรืออ้างถึงสิ่งพิมพ์ที่ยังตรวจสอบไม่ได้ หากแสดงได้ว่าบทความนี้ละเมิดลิขสิทธิ์ ให้แทนป้ายนี้ด้วย {{ละเมิดลิขสิทธิ์}} หากคุณมั่นใจว่าบทความนี้ไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ ให้แสดงหลักฐานในหน้าอภิปราย โปรดอย่านำป้ายนี้ออกก่อนมีข้อสรุป |
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 รัฐธรรมนูญฉบับที่ 10 ของประเทศไทยซึ่งร่างโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญภายหลังจากจอมพลถนอม กิตติขจร ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในเหตุการณ์ วันมหาวิปโยค เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เพื่อใช้แทน ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 ซึ่งใช้บังคับอยู่ก่อนหน้านั้นโดย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 โดยมี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ในฐานะ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 | |
---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |
ผู้ลงนาม | สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามิทราธิราช บรมนาถบพิตร |
วันลงนาม | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 |
ผู้ลงนามรับรอง | หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) |
วันลงนามรับรอง | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 |
วันประกาศ | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 |
วันเริ่มใช้ | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 |
ท้องที่ใช้ | ไทย |
การยกเลิก | |
ประกาศของ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน |
แต่หลังจากบังคับใช้ได้เกือบ 2 ปีรัฐธรรมนูญฉบับนี้ก็ถูกยกเลิกโดยประกาศของ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ซึ่งมี พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ เป็นหัวหน้าคณะเมื่อวันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
สาระสำคัญ
แก้วิกิซอร์ซ มีงานต้นฉบับเกี่ยวกับ: