รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ หน้าอภิปรายอาจมีข้อเสนอแนะ |
ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (อังกฤษ: pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด

ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope)
ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ แก้ไข
มีการเสนอว่า บทความนี้หรือส่วนนี้ควรแยกเป็นบทความใหม่ชื่อ รายพระนามผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ปัจจุบัน (อภิปราย) |
ทวีปยุโรป แก้ไข
เยอรมนี แก้ไข
อิตาลี แก้ไข
ทวีปแอฟริกา แก้ไข
ประเทศ | รูป | ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ | เกิด | ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ | ราชวงศ์ | ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ | ผู้สืบทอดลำดับถัดไป | เกิด | รูป | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
จักรวรรดิเบนิน | พระเจ้าอีรีดิเอาวาที่ 1 โอบาแห่งเบนิน | พ.ศ. 2496 | พ.ศ. 2521 | โอบาแห่งเบนิน | เป็นพระปนัดดาในพระเจ้าโอวอนรามเว็น โอบาแห่งเบนิน ครองราชย์ตั้งแต่พ.ศ. 2431 ถึงพ.ศ. 2440 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างหลังจากจักรวรรดิเบนินถูกผนวกเข้ากับอาณานิคมอังกฤษ | ? | ? | ? | ||
ราชอาณาจักรบุรุนดี | เจ้าหญิงโรส เปาลา อิริบากิซา แห่งบุรุนดี | พ.ศ. 2477 | พ.ศ. 2520 | ราชวงศ์นัทเวโต | เป็นพระธิดาในพระเจ้ามวัมบุทซาที่ 4 บันกิริเชงแห่งบุรุนดี ครองราชย์ตั้งแต่พ.ศ. 2458 ถึงพ.ศ. 2509 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติโดยสาธารณรัฐ | เรมี มูฮิรวา | ? | ? | ||
จักรวรรดิแอฟริกากลาง | เจ้าชายฌ็อง-เบแดล บอกาซา มกุฎราชกุมารแห่งแอฟริกากลาง | พ.ศ. 2518 | พ.ศ. 2539 | ราชวงศ์โบคาสซาร์ | เป็นพระโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิฌอง-บาเดล โบคาสซาร์ที่ 1 แห่งแอฟริกากลาง ครองราชย์ตั้งแต่พ.ศ. 2519 ถึงพ.ศ. 2522 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยมีการฟื้นฟูระบอบสาธารณรัฐ | เจ้าชายฌอง-เบแดล บอกาซา | พ.ศ. 2528 | ? | ||
ราชอาณาจักรอียิปต์ | พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ | พ.ศ. 2495 | พ.ศ. 2496 | ราชวงศ์มุฮัมหมัด อาลี | เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์ตั้งแต่พ.ศ. 2495 ถึงพ.ศ. 2496 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติอียิปต์โดยสาธารณรัฐ | เจ้าชายมุฮัมหมัด อาลีแห่งซาอิด | พ.ศ. 2522 | |||
จักรวรรดิเอธิโอเปีย | เซรา ยาคอบ อัมฮา เซลาสซี มกุฎราชกุมารแห่งเอธิโอเป๊ย | พ.ศ. 2496 | พ.ศ. 2540 | ราชวงศ์โซโลมอน | เป็นพระนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย จักรพรรดิแห่งเอธิโอเปียตั้งแต่พ.ศ. 2473 ถึงพ.ศ. 2507 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยเผด็จการคอมมิวนิสต์เดร็ก | พอล วอซเซน ซากัด มาคอนเนน | พ.ศ. 2490 | ? | ||
จักรวรรดิเอธิโอเปีย | เกอมา โยฮันนิส ฮิยาซู | พ.ศ. 2504 | พ.ศ. 2540 | ราชวงศ์โซโลมอน | พระนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอิยาซูที่ 5 แห่งเอธิโอเปีย จักรพรรดิตั้งแต่พ.ศ. 2456 ถึงพ.ศ. 2459 | ? | ? | ? | ||
ราชอาณาจักรลิเบีย | เจ้าชายมูฮัมหมัด อิล เซนนุสซี มกุฎราชกุมารแห่งลิเบีย | พ.ศ. 2505 | พ.ศ. 2535 | ราชวงศ์เซนุสซิ | เป็นพระนัดดาในพระเจ้าอิดิสที่ 1 แห่งลิเบีย กษัตริย์ลิเบียตั้งแต่พ.ศ. 2494 ถึงพ.ศ. 2512 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยเผด็จการทหาร | เจ้าชายคาเลด เอล เซนุสซี | พ.ศ. 2508 | ? | ||
ราชอาณาจักรรวันดา | พระเจ้ายูฮีที่ 6 แห่งรวันดา | พ.ศ. 2503 | พ.ศ. 2560 | ราชวงศ์นิดาฮินดูรวา | พระภาติยะในพระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยคณะปฏิวัติ | ? | ? | ? | ||
ราชอาณาจักรอียิปต์และซูดาน | พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ | พ.ศ. 2495 | พ.ศ. 2496 | ราชวงศ์มุฮัมหมัด อาลี | เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดานตั้งแต่พ.ศ. 2495 ถึงพ.ศ. 2496 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติอียิปต์โดยสาธารณรัฐ | เจ้าชายมูฮัมหมัด อาลี เจ้าชายแห่งซาอิด | พ.ศ. 2522 | |||
ราชอาณาจักรตูนิเซีย | เจ้าชายมุฮัมหมัด เบย์ | พ.ศ. 2471 | พ.ศ. 2549 | ราชวงศ์ฮูไซนิด | เชื้อสายของพระเจ้ามุฮัมหมัดที่ 5 อัน-นาเซอร์ กษัตริย์แห่งตูนิเซียตั้งแต่พ.ศ. 2449 ถึงพ.ศ. 2465 กษัตริย์องค์สุดท้ายคือพระเจ้ามูฮัมหมัดที่ 8 อัล อามินแห่งตูนิเซีย ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยสาธารณรัฐ | เจ้าชายมูฮัมหมัด เบย์ | พ.ศ. 2490 | ? | ||
รัฐสุลต่านแซนซิบาร์ | สุลต่านจัมซิด บิน อับดุลลาห์แห่งแซนซิบาร์ | พ.ศ. 2472 | พ.ศ. 2507 | ราชวงศ์ซาอิด | ทรงเป็นสุลต่านองค์สุดท้ายแห่งแซนซิบาร์ตั้งแต่พ.ศ. 2506 ถึงพ.ศ. 2507 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติแซนซิบาร์ | เจ้าชายไซยิด อาลี บิน จัมซิด อัล บูไซดิ | พ.ศ. 2499 | ? |
ทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ แก้ไข
ทวีปเอเชีย แก้ไข
ประเทศ | รูป | ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์' | เกิด | ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ | ราชวงศ์ | ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ | ผู้สืบทอดลำดับถัดไป | เกิด | รูป | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รัฐสุลต่านอาเจะฮ์ | หะซัน ดิ ไทโร | พ.ศ. 2473 | ? | ราชวงศ์ไทโร | ผู้สืบเชื้อสายสุลต่านแห่งอาเจะฮ์ | ? | ? | ? | ||
อัฟกานิสถาน | มกุฎราชกุมารอาห์หมัด ชาห์ ข่าน | พ.ศ. 2477 | พ.ศ. 2550 | ราชวงศ์บาราคไซ | โอรสองค์ใหญ่ที่ยังดำรงพระชนม์อยู่ของพระเจ้าโมฮัมเหม็ด ซาเฮียร์ ชาห์แห่งอัฟกานิสถาน ชาห์แห่งอัฟกานิสถานระหว่าง พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2516 | มุฮัมมัด ซาฮีร์ ข่าน | พ.ศ. 2505 | ? | ||
เอมิเรตแห่งบูคารา | ซัยยิด มีร์ อิบรอฮิม ข่าน | พ.ศ. 2446 | พ.ศ. 2487 | ราชวงศ์มางกิต | โอรสของซัยยิด มีร์ โมฮัมเหม็ด อาลิม ข่าน (เอเมียร์แห่งบุคาราระหว่าง พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2463) | ? | ? | ? | ||
ราชอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ | เจ้าแก้ว ณ จำปาศักดิ์ | พ.ศ. 2487 | พ.ศ. 2523 | ราชสกุล ณ จำปาศักดิ์ | นัดดา (หลานปู่) ของเจ้าราชดนัย (เจ้ายุติธรรมธร หยุย ณ จำปาศักดิ์) (เจ้าผู้ปกครองนครระหว่าง พ.ศ. 2443 - พ.ศ. 2447) | เจ้าไซซะนะสัก ณ จำปาศักดิ์ | พ.ศ. 2489 | |||
จีน (ราชวงศ์ชิง) |
อ้ายซินเจว๋หลัว เหิงเจิน | พ.ศ. 2487 | พ.ศ. 2540 | ราชวงศ์ชิง[1] | ผู้สืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2393) | อ้ายซินเจว๋กัวโร จินซิง | 1977 | |||
จีน (ราชวงศ์หยวน) |
วินเซนต์ หยวน[2] | พ.ศ. 2490 | พ.ศ. 2546 | ราชวงศ์หยวน | เหลนของหยวน ซื่อไข่ (ตั้งตนเป็นจักรพรรดิระหว่าง พ.ศ. 2458 - 2459) | จาดา หยวน | ? | |||
จีน (ราชวงศ์หมิง) |
จู หรงจี | พ.ศ. 2471 | — | ราชวงศ์หมิง (แซ่จู) [3] | จู หรงจี้เองไม่เคยประกาศอ้างสิทธิในราชสมบัติ แต่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่าง พ.ศ. 2541-2546 เขาเป็นผู้สืบเชื้อสายจากจักรพรรดิหงหวู่ (จูหยวนจาง)[4] (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 1911 - พ.ศ. 1941) | — | — | — | ||
จอร์เจีย | เจ้าชายนุกซาร์ บักราติอน-กรูซินสกีแห่งจอร์เจีย | พ.ศ. 2493 | พ.ศ. 2527 | ราชวงศ์บักรัตติโอนี | สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าจอร์จที่ 12 แห่งจอร์เจีย (ครอราชย์ในปี ค.ศ. 1798-1800) | เจ้าหญิงแอนนา บักราติอน-กรูซินสกีแห่งจอร์เจีย | พ.ศ. 2519 | |||
เจ้าชายดาวิด บักราติอนแห่งมุครานี | พ.ศ. 2519 | พ.ศ. 2551 | ราชวงศ์บักรัตติโอนี | สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 2 แห่งจอร์เจีย (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1478-1505) | กิออร์กี บักราติอนแห่งมุครานี | พ.ศ. 2554 | ||||
อิหร่าน (ราชวงศ์ปาห์ลาวี) |
เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน | พ.ศ. 2503 | พ.ศ. 2523 | ราชวงศ์ปาห์ลาวี | โอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2522) | เจ้าชายอาลี แพทริค ปาห์ลาวี | พ.ศ. 2490 | |||
อิหร่าน (ราชวงศ์กอญัร) |
เจ้าชายโมฮัมหมัด หะซัน มีร์ซา ที่ 2 | พ.ศ. 2492 | พ.ศ. 2531 | ราชวงศ์กอญัร | ผู้สืบเชิ้อสายพระเจ้าโมฮัมหมัด อาลี ชาห์ กอญัร (พระเจ้าชาห์ระหว่าง พ.ศ. 2450 - พ.ศ. 2452) | เจ้าชายอาร์ซาลัน มีร์ซา | ? | |||
ราชอาณาจักรอิรัก | เจ้าชายระอัด บิน เซอิด | พ.ศ. 2479 | พ.ศ. 2513 | ราชวงศ์ฮาชิม | ลูกพี่ลูกน้องของพระเจ้าไฟซาลที่ 2 แห่งอิรัก (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2482 - พ.ศ. 2501) | เจ้าชายเซอิด ระอัด บิน เซอิด อัลฮุสเซน | พ.ศ. 2507 | |||
ซารีฟ อาลี บิน อัลฮุสเซน | พ.ศ. 2499 | พ.ศ. 2501[5] | ? | ? | ? | |||||
ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม | พระเจ้าควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน | พ.ศ. 2481 | พ.ศ. 2518 | ราชวงศ์บูร์บง | ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง | สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 แห่งสเปน | พ.ศ. 2511 | |||
ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม | หลุยส์ อัลฟองซ์ ดยุคแห่งอองชู | พ.ศ. 2517 | พ.ศ. 2532 | ราชวงศ์บูร์บง | ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง | พระเจ้าควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน | พ.ศ. 2481 | |||
ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม | เจ้าชายวิกเตอริโอ เอ็มมานูเอลแห่งเนเปิลส์ | พ.ศ. 2480 | พ.ศ. 2526 | ราชวงศ์ซาวอย | ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง | เจ้าชายเอ็มมานูเอล ฟิลิแบร์โตแห่งเวนิซและเพียดมอนท์ | พ.ศ. 2515 | |||
ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม | คาร์ล ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน | พ.ศ. 2504 | พ.ศ. 2554 | ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก | ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง | แฟร์ดีนันด์ โซโวนีเมียร์ ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน | พ.ศ. 2540 | |||
ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม | ? | อินฟานเต คาร์ลอส ดยุคแห่งคาลาเบรีย | พ.ศ. 2481 | พ.ศ. 2507 | ราชวงศ์บูร์บง | ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง | เจ้าชายเปโดร ดยุคแห่งโนโต | 1968 | ||
ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม | เจ้าชายคาร์โล ดยุคแห่งคัสโตร | พ.ศ. 2506 | พ.ศ. 2551 | ราชวงศ์บูร์บง | ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง | เจ้าชายแอนโตนแห่งบูร์บง ซิซิลีทั้งสอง | พ.ศ. 2472 | ? | ||
ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม | ? | ชาร์ลส-แอนโตน ลามอรัล | พ.ศ. 2489 | พ.ศ. 2548 | ราชวงศ์ลิกน์ | ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง | เจ้าชายเอ็ดดูอัร์ด | พ.ศ. 2519 | ? | |
ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม | ? | แพทริค กินเนส | พ.ศ. 2499 | พ.ศ. 2542 | ตระกูลกินเนส | ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง | จัสมิน กินเนส | พ.ศ. 2519 | ? | |
ราชรัฐคาลัต | อะกา สุไลมาน ยัน | พ.ศ. 2510 | พ.ศ. 2541 | ราชวงศ์อาห์มัดไซ | พระโอรสในอาเหม็ด ยาร์ ข่าน (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1933-1955) | ? | ? | ? | ||
จักรวรรดิเกาหลี | เจ้าชายอี ซ็อก | พ.ศ. 2484 | พ.ศ. 2549 | ราชวงศ์โชซ็อน[6] | พระราชนัดดา (หลานปู่) ในสมเด็จพระจักรพรรดิควางมู (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2450) | แอนดรูว์ ลี | ? | ? | ||
เจ้าชายวอน รัชทายาทแห่งเกาหลี | พ.ศ. 2505 | พ.ศ. 2548 | โอรสบุญธรรมของเจ้าชายโฮอุนแห่งเกาหลี ผู้เป็นพระราชนัดดา (หลานปู่) ในสมเด็จพระจักรพรรดิควางมู (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2450) | อี กวอน | พ.ศ. 2541 | ? | ||||
ราชอาณาจักรลาว | เจ้าสุลิวงศ์ สว่าง | พ.ศ. 2506 | พ.ศ. 2521 พ.ศ. 2527 |
ราชวงศ์ล้านช้าง (ราชวงศ์ขุนลอ) | พระราชนัดดา (หลานปู่) ในพระเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2502 - 2518) | เจ้าธัญวงศ์ สว่าง | พ.ศ. 2507 | |||
มัลดีฟส์ | เจ้าชาย มูฮัมหมัด นูร์ อัด-ดิน | ? | พ.ศ. 2512 | ราชวงศ์ฮูรา | พระโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮัสซัน นูรัดดีน ที่ 2 (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2478 - 2486) | เจ้าชาย อิบราฮิม นูร์ อัด-ดิน | ? | |||
แมนจูกัว | จิน ยูซาง | พ.ศ. 2485 | พ.ศ. 2558 | ราชวงศ์ชิง | พระภาติยะของจักรพรรดิคังเต๋อ (ปูยี) (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง 1934 - 1945) |
จิน ยู่ฉวน | พ.ศ. 2489 | |||
มองโกเลีย (ในความปกครองของราชวงศ์ชิง) | อ้ายซินเจว๋หลัว เหิงเจิน | พ.ศ. 2487 | พ.ศ. 2540 | ผู้สืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2393) | อ้ายซินเจว๋กัวโร จินซิง | พ.ศ. 2520 | ||||
อาณาจักรพม่า (ราชวงศ์อลองพญา) | ตอ พญา มยัต จี | พ.ศ. 2488 | พ.ศ. 2562 | ราชวงศ์อลองพญา | พระปนัดดาของพระเจ้าสีป่อ (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2421 - พ.ศ. 2428) | หม่อง อ่อง คีน | พ.ศ. 2507 | |||
ราชอาณาจักรเนปาล | สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ | พ.ศ. 2490 | พ.ศ. 2551 | ราชวงศ์ศาห์ | กษัตริย์แห่งเนปาลระหว่าง พ.ศ. 2544 - 2551 (ประเทศเนปาลเปลี่ยนแปลงเป็นระบอบสาธารณรัฐ) | มกุฎราชกุมารปาราสวีรวิกรมศาหเทวะ | พ.ศ. 2514 | |||
รัฐสุลต่านกูไอติ | กาหลิบที่ 2 | พ.ศ. 2491 | พ.ศ. 2510 | ราชวงศ์อัล-กูไอติ | สุลต่านกูไอติระหว่าง พ.ศ. 2509 - 2510 | เจ้าชายซาเลห์ บิน กาหลิบ อัล-กูไอติ | 1977 | |||
ราชอาณาจักรริวกิว | โช มาโมรุ | พ.ศ. 2493 | พ.ศ. 2539 | ราชวงศ์โช | สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าโชไท (ครองราชย์ ค.ศ. 1848-1879) | Takeshi Shō | ? | ? | ||
รัฐซาราวัก | ลอเรนซ์ นิโคลัส บรูค | พ.ศ. 2526 | พ.ศ. 2560 | ตระกูลบรูค | สืบเชื้อสายจากชาร์ล ไวเนอร์ บรูค (รายาผิวขาวแห่งซาราวักระหว่าง พ.ศ. 2460 - พ.ศ. 2489) | เจสัน บรูค | พ.ศ. 2528 | |||
ดินแดนสิงคโปร์ | เติงกู ซรี อินทรา | ? | พ.ศ. 2539 | ? | ผู้สืบเชื้อสายจากสุลต่านอาลีแห่งยะโฮร์ (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง 1835-1877) | ? | ? | ? | ||
รัฐสุลต่านซูลู | จามาลุล คีรัม ที่ 3 | พ.ศ. 2481 | พ.ศ. 2529 | ราชวงศ์คีรัม | นัดดา (หลานปู่) ในสุลต่านจามาลุล คีรัม ที่ 1 (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2427 - พ.ศ. 2442) | โรดินูด จูลาสพิ คีรัม | ? | |||
ราชรัฐสวัต | ? | เมียนกุล ออรังเซบ | พ.ศ. 2471 | พ.ศ. 2530 | ตระกูลเมียนกุล | บุตรของเมียนกุล จาฮาน เซบ (ปกครองระหว่าง พ.ศ. 2492 - 2512) | เมียนกุล อัดนาน ออรังเซบ | พ.ศ. 2495 | ? | |
ทิเบต | เทนซิน เกียตโซ, ทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่[7] | พ.ศ. 2478 | พ.ศ. 2483 | — | ทะไลลามะนับตั้งแต่ พ.ศ. 2483 | — | — | — | ||
จักรวรรดิออตโตมัน | ฮารูน ออสมัน | พ.ศ. 2475 | พ.ศ. 2564 | ราชวงศ์ออสมัน | พระราชปนัดดา (เหลน) ในสุลต่านอับดุลฮามิดที่ 2 (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2433 - 2452) | ออร์ฮัน ออสมัน | พ.ศ. 2506 | |||
จักรวรรดิเวียดนาม | เจ้าชายบ๋าว เอิน | พ.ศ. 2496 | พ.ศ. 2560 | ราชวงศ์เหงียน | โอรสของสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2468 - พ.ศ. 2488) | เหงียน ฟุก กุ๋ย คัง | พ.ศ. 2521 | ? | ||
ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน | อกีล บิน มูฮัมหมัด อัล-บาดร์ | พ.ศ. 2517 | พ.ศ. 2539 | ราชวงศ์อัล-คาซิมิ | โอรสของพระเจ้ามูฮัมหมัด อัล-บาดร์ (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2505 - 2513) | มูฮัมหมัด อัล-ฮัสซัน บิน อกีล | ? | |||
ราชอาณาจักรล้านนา(นครเชียงใหม่) | เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ | พ.ศ. 2478 | พ.ศ. 2532 | ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ | ราชนัดดา (หลานปู่) ในเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 (พ.ศ. 2454 - 2482) | เจ้าพัฒนา ณ เชียงใหม่ | ? | |||
นครลำพูน | พลอากาศตรี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน | พ.ศ. 2483 | พ.ศ. 2538 | ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ | ราชนัดดา (หลานปู่) ในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 10 (พ.ศ. 2454 - 2486) | พันเอก (พิเศษ) เจ้าวีรพงศ์ ณ ลำพูน | ? | |||
นครลำปาง | เจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง | พ.ศ. 2558 | ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ | เหลน ในเจ้าหลวงพรหมาภิพงษ์ธาดา เจ้าผู้ครองนครลำปาง | ? |
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย แก้ไข
อ้างอิง แก้ไข
- ↑ จักรพรรดิราชวงศ์ชิงทุกพระองค์ใช่แซ่ว่า "อ้ายซินเจว๋หลัว" ([爱新觉罗, „Àixīnjuéluó“)
- ↑ [1] Luke Chia-Liu Yuan was born in a palace in Beijing. He was the grandson of Yuan Shikai, China's president from 1912 to 1916. In addition to Jada Yuan of Manhattan, he is survived by a son, Vincent, a nuclear physicist, of New Mexico; and a brother, Yuan Jiaji, who lives in Tianjin, China.
- ↑ จักรพรรดิในราชวงศ์หมิงทุกพระองค์ใช้แซ่ว่า "จู" (朱, „Zhū“)
- ↑ Descended from Zhu Yuanzhang, the first Ming-dynasty Emperor (1368-98), the Zhu clan was a big landowner around Changsha in Hunan province, where Zhu was born in 1928 เก็บถาวร 2009-10-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (Zhu Yuanzhang's era name was Hongwu)
- ↑ ไม่เป็นทางการ
- ↑ ราชวงศ์ลีเป็นราชวงศ์ของเหล่าผู้สืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรโชซอนและจักรวรรดิเกาหลี
- ↑ ประมุขฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักรอย่างเป็นทางการของทิเบต ตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นที่เมืองธรรมศาลา ประเทศอินเดีย นับตั้งแต่การเข้ายึดครองทิเบตโดยจีนในปี พ.ศ. 2493