ทางรถไฟสายเหนือ

(เปลี่ยนทางจาก รถไฟสายเหนือ)

ทางรถไฟสายเหนือ หรือ ทางรถไฟสายชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่[2] เป็นเส้นทางรถไฟสายหนึ่งในประเทศไทย แยกออกจากทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี ผ่านหลายจังหวัดในภาคกลางและภาคเหนือ และสิ้นสุดปลายทางที่สถานีรถไฟเชียงใหม่ รวมระยะทาง 751 กิโลเมตร (นับตั้งแต่สถานีรถไฟกรุงเทพ) และที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา จังหวัดอุตรดิตถ์ จะมีทางแยกไปยังสถานีรถไฟสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย รวมระยะทาง 457 กิโลเมตร (นับตั้งแต่สถานีรถไฟกรุงเทพ)

ทางรถไฟสายเหนือ
จากซ้ายไปขวา บนลงล่าง:
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออื่นทางรถไฟสายชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่
สถานะเปิดให้บริการ /
โครงการส่วนต่อขยาย
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ปลายทาง
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟระหว่างเมือง
ระบบรถไฟทางไกล
ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
และบริษัทเอกชนในส่วน
ของสถานีขนถ่ายสินค้า
ศูนย์ซ่อมบำรุงโรงรถจักรดีเซลอุตรดิตถ์
โรงรถจักรดีเซลลำปาง
โรงรถจักรดีเซลปากน้ำโพ
ผู้โดยสาร1,359,405 คน (2565)[1]
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง751.42 กม. (466.91 ไมล์)
จำนวนทางวิ่ง1
รางกว้างราง 1 เมตร ทางเดี่ยว
(ระหว่างโครงการก่อสร้างทางคู่)
ความเร็วสูงสุด 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
แผนที่เส้นทาง

km
0.00
กรุงเทพ (หัวลำโพง) สถานีหัวลำโพง
2.17
ยมราช
3.29
จิตรลดา
โรงพยาบาลรามาธิบดี
4.80
สามเสน
6.73
ประดิพัทธ์
7.470
ชุมทางบางซื่อ สถานีกลางบางซื่อ กรุงเทพอภิวัฒน์
11.01
จตุจักร
12.50
วัดเสมียนนารี
13.30
บางเขน
14.81
ทุ่งสองห้อง
17.57
หลักสี่
19.47
การเคหะ
21.69
ตลาดใหม่ดอนเมือง
ทางยกระดับ สายสีแดงเข้ม
22.21
ดอนเมือง
หลักหก
29.75
รังสิต
33.84
คลองหนึ่ง
37.47
เชียงราก
40.19
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
44.12
นวนคร
46.01
เชียงรากน้อย
51.88
คลองพุทรา
58.00
บางปะอิน
62.75
บ้านโพ
71.08
อยุธยา
74.69
บ้านม้า
78.98
มาบพระจันทร์
82.31
บ้านดอนกลาง
85.44
พระแก้ว
89.95
ชุมทางบ้านภาชี
93.85
ดอนหญ้านาง
96.44
หนองวิวัฒน์
99.16
บ้านปลักแรด
102.73
ท่าเรือ
ทางรถไฟสายพระพุทธบาท
108.78
บ้านหมอ
116.56
หนองโดน
121.2
บ้านกลับ
บ้านกลับ – โคกกระเทียม
บ้านกลับ – โคกกระเทียม
ลพบุรี 1
ลพบุรี 2
127.44
บ้านป่าหวาย
132.81
ลพบุรี
137.51
ท่าแค
144.23
โคกกระเทียม
150.08
หนองเต่า
ทางรถไฟสายหนองเต่า–เขาทับควาย
154.93
หนองทรายขาว
161.22
บ้านหมี่
165.94
ห้วยแก้ว
170.33
ไผ่ใหญ่
172.90
โรงเรียนจันเสน
173.68
จันเสน
176.63
บ้านกกกว้าว
180.20
ช่องแค
187.137
ทะเลหว้า
188.65
โพนทอง
193.02
บ้านตาลี
198.80
ดงมะกุ
204.06
หัวหวาย
211.44
หนองโพ
217.22
หัวงิ้ว
221.77
บ้านหนองหมู -2547
224.81
เนินมะกอก
231.35
ทุ่งน้ำซึม -ไม่ทราบแน่ชัด
235.49
เขาทอง
239.97
อ่างหิน -2546
บ้านไผ่
220.30
ชัยภูมิ
211.10
บ้านเขว้า
181.20
ชุมทางกุดน้ำใส
180.83
คลองสระแก้ว
113.30
บ้านจัดสรร
105.90
บ้านวังไผ่
98.575
บรรจุและแยกสินค้ากล่อง บ้านพุเตย
98.075
บ้านพุเตย
55.500
ไพศาลี
35.00
บรรจุและแยกสินค้ากล่อง ท่าตะโก
34.50
ท่าตะโก
ไป บ้านไผ่
245.78
นครสวรรค์
250.56
ปากน้ำโพ
ไป ตาก
0.75
แม่น้ำน่าน
3.600
บึงเสนาท
10.36
บ้านมะเกลือ
15.75
มหาโพธิ
23.20
เก้าเลี้ยว
30.18
บางตาหงาย
38.07
เจริญผล
49.25
ตาขีด
55.80
ป่าพุทรา
64.00
ยางสูง
69.53
วังแขม
74.22
วังยาง
78.70
ท่ามะเขือ
87.75
วังบัว
94.95
คณฑี
104.35
เทพนคร
113.35
กำแพงเพชร
120.63
หนองปลิง
134.65
ลานดอกไม้
147.35
โกสัมพี
157.05
วังเจ้า
168.08
วังหิน
172.86
แม่น้ำปิง
175.15
หนองบัวใต้
181.143
ตาก
196.90
อุโมงค์ดอยรวก (15,500 ม.)
214.575
ด่านแม่ละเมา
219.35
อุโมงค์แม่ละเมา แห่งที่ 1 (1,420 ม.)
221.22
อุโมงค์แม่ละเมา แห่งที่ 2 (756 ม.)
221.22
ดอยพะวอ (12,000 ม.)
235.96
แม่ปะ
245.31
แม่สอด
250.10
ด่านแม่สอด
257.15
บึงบอระเพ็ด
263.58
ทับกฤช
270.87
คลองปลากด
280.29
ชุมแสง
290.24
วังกร่าง
297.03
บางมูลนาก
303.50
หอไกร
309.87
ดงตะขบ
319.00
ตะพานหิน
324.91
ห้วยเกตุ
332.60
หัวดง
339.36
วังกรด
346.79
พิจิตร
354.26
ท่าฬ่อ
362.22
บางกระทุ่ม
366.21
แม่เทียบ
375.31
บ้านใหม่
381.87
บึงพระ
389.28
พิษณุโลก
393.75
บ้านเต็งหนาม
400.00
บ้านตูม
405.31
แควน้อย
414.50
พรหมพิราม
423.20
หนองตม
432.75
บ้านบุ่ง
437.41
บ้านโคน
447.55
พิชัย
แม่น้ำน่าน
453.98
ไร่อ้อย
458.31
ชุมทางบ้านดารา
ทางรถไฟสายสวรรคโลก
461.80
ท่าสัก
466.32
คลองละมุง -2546
469.86
ตรอน
474.96
วัดคลองปู -2546
476.82
วังกะพี้
479.03
คลองยาง -2546
483.08
หนองเรียง -2546
485.17
อุตรดิตถ์
487.52
ศิลาอาสน์
489.35
ท่าเสา
494.35
น้ำริด ~2540-2549
497.56
บ้านด่าน
509.36
ปางต้นผึ้ง
513.72
อุโมงค์ปางตูบขอบ (120.09 ม.)
516.41
อุโมงค์เขาพลึง (362.44 ม.)
517.02
ขาพลึง
521.48
ห้วยไร่
525.30
ไร่เกล็ดดาว
528.22
แม่พวก
855.45
บรรจุและแยกสินค้ากล่อง เชียงของ
853.35
เชียงของ
839.20
ศรีดอนชัย
806.15
บ้านเกี๋ยง
816.60
อุโมงค์ดอยหลวง (3600.00 ม.)
เชียงแสน
7.500 กม โชคชัย
ไป เชียงแสน
807.40
ชุมทางบ้านป่าซาง
796.43
เวียงเชียงรุ้ง
785.50
ทุ่งก่อ
771.80
เชียงราย
756.00
สันป่าเหียง
743.03
โป่งเกลือ
732.72
ป่าแงะ
724.50
ป่าแดด
709.90
บ้านใหม่
689.80
บ้านร้อง
686.80
ดงเจน
683.60
พะเยา
677.60
บ้านโทกหวาก
670.70
มหาวิทยาลัยพะเยา
663.40
อุโมงค์แม่กา (2825.00 ม.)
642.30
ปงเตา
636.98
งาว
617.93
แม่ตีบ
609.05
อุโมงค์อ.สอง (6375.00 ม.)
606.20
อุโมงค์อ.สอง (1125.00 ม.)
590.90
สอง
584.20
หนองเสี้ยว
560.60
แพร่
547.75
สูงเม่น
ทางรถไฟสายเด่นชัย–เชียงราย–เชียงของ
533.94
เด่นชัย
538.43
ปากปาน
546.94
แก่งหลวง
554.42
ห้วยแม่ต้า
563.86
บ้านปิน
574.04
อุโมงค์ห้วยแม่ลาน (130.20 ม.)
574.20
ห้วยแม่ลาน -2524
578.46
ผาคัน
581.22
ผาคอ
591.07
ปางป๋วย
600.33
แม่จาง
609.16
แม่เมาะ
614.87
ห้วยรากไม้
622.22
ศาลาผาลาด
628.45
แม่ทะ
637.41
หนองวัวเฒ่า
642.29
นครลำปาง
647.12
บ่อแฮ้ว ~2535-2545
654.85
ห้างฉัตร
660.98
ปางม่วง
665.09
ห้วยเรียน
671.80
แม่ตานน้อย
675.00
ปางหัวพง -ก่อน 2469
679.00
ปางยาง -ก่อน 2469
681.57
อุโมงค์ขุนตาน (1352.10 ม.)
683.14
ขุนตาน
691.89
ทาชมภู
700.68
ศาลาแม่ทา
707.00
ห้วยเกี๋ยง -2509
713.01
หนองหล่ม
723.59
ดอยติ -2523
729.21
ลำพูน
734.64
ป่าเส้า
742.78
สารภี
751.42
เชียงใหม่

ประวัติทางรถไฟสายเหนือ แก้

ลำดับ ช่วงสถานี ระยะทาง (กิโลมตร) เริ่มเดินรถ[3]
1 ชุมทางบ้านภาชีลพบุรี 43 1 เมษายน พ.ศ. 2444
2 ลพบุรี–ปากน้ำโพ 117 31 ตุลาคม พ.ศ. 2448[4]
3 ปากน้ำโพ–พิษณุโลก 139 24 มกราคม พ.ศ. 2450
4 พิษณุโลก–ชุมทางบ้านดารา 69 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451
5 ชุมทางบ้านดารา–ปางต้นผึ้ง 51 15 สิงหาคม พ.ศ. 2452
6 ปางต้นผึ้ง–แม่พวก 19 1 มิถุนายน พ.ศ. 2454
7 แม่พวก–ปากปาน 10 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455
8 ปากปาน–ห้วยแม่ต้า 13 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2456
9 ห้วยแม่ต้า–บ้านปิน 13 15 มิถุนายน พ.ศ. 2457
10 บ้านปิน–ผาคอ 17 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2458
11 ผาคอ–แม่จาง 19 15 ธันวาคม พ.ศ. 2458
12 แม่จาง–นครลำปาง 42 1 เมษายน พ.ศ. 2459
13 นครลำปาง–ปางหัวพง 33 20 ธันวาคม พ.ศ. 2459
14 ปางหัวพง–ปางยาง 4 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2461
15 ปางยางอุโมงค์ขุนตาน–เชียงใหม่ 72 1 มกราคม พ.ศ. 2464
ค่าก่อสร้างทั้งหมด 46,817,492 บาท

รถไฟทางคู่ แก้

เนื่องจากมีขบวนรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือจำนวนมาก ทำให้รถไฟหลายขบวนต้องหลีกกัน ก่อให้เกิดความล่าช้า กรมรถไฟหลวงจึงสร้างทางรถไฟใหม่ข้าง ๆ ทางเดิม และเปิดเดินรถไฟทางคู่ได้เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485

พื้นที่ที่เส้นทางผ่าน แก้

เขต / อำเภอ จังหวัด
กรุงเทพ-เชียงใหม่
ปทุมวัน / ดุสิต / ราชเทวี / พญาไท / จตุจักร / หลักสี่ / ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร
ธัญบุรี / คลองหลวง ปทุมธานี
บางปะอิน / พระนครศรีอยุธยา / อุทัย / ภาชี / ท่าเรือ พระนครศรีอยุธยา
บ้านหมอ / หนองโดน สระบุรี
เมืองลพบุรี / บ้านหมี่ ลพบุรี
ตาคลี / พยุหะคีรี / เมืองนครสวรรค์ / ชุมแสง นครสวรรค์
บางมูลนาก / ตะพานหิน / เมืองพิจิตร พิจิตร
บางกระทุ่ม / เมืองพิษณุโลก / พรหมพิราม พิษณุโลก
พิชัย / ตรอน / เมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
เด่นชัย / ลอง แพร่
แม่เมาะ / แม่ทะ / เมืองลำปาง / ห้างฉัตร ลำปาง
แม่ทา / เมืองลำพูน ลำพูน
สารภี / เมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่
ชุมทางบ้านดารา - สวรรคโลก
ศรีนคร / สวรรคโลก สุโขทัย
ชุมทางเด่นชัย - เชียงของ
เด่นชัย / สูงเม่น / เมืองแพร่ / สอง แพร่
งาว ลำปาง
เมืองพะเยา / ภูกามยาว พะเยา
ป่าแดด / เมืองเชียงราย / เวียงชัย / เวียงเชียงรุ้ง / เชียงของ เชียงราย
ชุมทางบ้านป่าซาง - เชียงแสน
เวียงเชียงรุ้ง / ดอยหลวง / เชียงแสน เชียงราย

โครงสร้างพื้นฐาน แก้

สถานีรถไฟ แก้

สะพาน แก้

อ้างอิง: [5]

อุโมงค์ แก้

ชื่ออุโมงค์[6] กิโลเมตรที่ ความยาว (เมตร) รูปภาพ
อุโมงค์ปางตูบขอบ 513 (ปางต้นผึ้งเขาพลึง) 120.09  
อุโมงค์เขาพลึง 516 (ปางต้นผึ้ง–เขาพลึง) 362.44  
อุโมงค์ห้วยแม่ลาน 574 (บ้านปินผาคัน) 130.20  
อุโมงค์ขุนตาน 681–682 (แม่ตานน้อยขุนตาน) 1,362.10  

โครงการในอนาคต แก้

ในอนาคต จะมีการพัฒนาทางรถไฟจากทางเดี่ยวเป็นแบบทางคู่ ซึ่งจะก่อสร้างเป็นช่วง ๆ ดังนี้

  • บ้านกลับ-ท่าวุ้ง-ชุมทางโคกกระเทียม เป็นทางรถไฟเส้นทางใหม่แบบยกระดับ เพื่อเลี่ยงพระปรางค์สามยอด) (อยู่ระหว่างการก่อสร้าง)[7]
  • ท่าแค-ปากน้ำโพ (อยู่ระหว่างการก่อสร้าง)[7]
  • ปากน้ำโพ-ชุมทางเด่นชัย (ผ่าน EIA เมื่อ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2565) [8][9]
  • ชุมทางเด่นชัย-เชียงใหม่ (โครงการ)

นอกจากนี้ยังมีโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่สายใหม่ ได้แก่

อ้างอิง แก้

  1. "เปิดแผนที่สถานีรถไฟประเทศไทยสถิติผู้ใช้งาน 2565". สถาบันนวัตกรรมและธรรมาภิบาลข้อมูล. 20 July 2023.
  2. สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง. "ทางรถไฟที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน". สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. ตำนานแห่งรถไฟไทย — รถไฟไทยดอตคอม
  4. ประวัติ สรพ. ปากน้ำโพ — รถไฟไทยดอตคอม
  5. บันทึกข้อมูลเรื่องสะพาน — รถไฟไทยดอตคอม
  6. อุโมงค์รถไฟในประเทศไทย — รถไฟไทยดอตคอม
  7. 7.0 7.1 รฟท.เซ็นสัญญาก่อสร้างรถไฟทางคู่ระยะเร่งด่วน 5 เส้นทาง 6.9 หมื่นล.
  8. "สผ.ไฟเขียว EIA รถไฟทางคู่ "ปากน้ำโพ-เด่นชัย" วงเงินกว่า 5.9 หมื่นล้านบาท เชื่อมโครงข่ายสายเหนือ". mgronline.com. 2022-05-11.
  9. pum (2022-05-11). "ประวิตร ไฟเขียว EIA รถไฟทางคู่ปากน้ำโพ-เด่นชัย 6.28 หมื่นล้าน". ประชาชาติธุรกิจ.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้