ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย
ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย (TSR, รัสเซีย: Транссибирская магистраль, อักษรโรมัน: Transsibirskaya magistral, สัทอักษรสากล: [trənsʲsʲɪˈbʲirskəjə məgʲɪˈstralʲ]) เป็นสายรถไฟที่ยาวที่สุดในโลก ช่วยในการเชื่อมต่อระหว่างกรุงมอสโก ไปยังเขตตะวันออกไกลและทะเลญี่ปุ่น[1] มีสายย่อยเชื่อมต่อไปยังมองโกเลีย จีน และเกาหลีเหนือ ปัจจุบันเชื่อมต่อระหว่างกรุงมอสโกกับเมืองวลาดีวอสตอค ตั้งแต่ ค.ศ. 1916 และกำลังวางแผนสร้างส่วนต่อขยาย
ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย | |
---|---|
รถจักร VL85 ลากตู้คอนเทนเนอร์ไปตามริมทะเลสาบไบคาล (2008) | |
ข้อมูลทั่วไป | |
ชื่อลำลอง | Транссибирская магистраль (รัสเซีย) |
สถานะ | เปิดให้บริการ |
เจ้าของ | รัฐบาลรัสเซีย |
ที่ตั้ง | รัสเซีย |
ปลายทาง | |
การดำเนินงาน | |
รูปแบบ | |
ระบบ | FER, SZhD, V-SibZhD, Z-SibZhD, KrasZhD, SvZhD, ZabZhD |
ผู้ดำเนินงาน | การรถไฟรัสเซีย |
ประวัติ | |
ปีที่เริ่ม | 9 มีนาคม ค.ศ. 1891 |
เปิดเมื่อ | 21 มิถุนายน ค.ศ. 1904 |
ข้อมูลทางเทคนิค | |
ระยะทาง | 9,289 กิโลเมตร (5,772 ไมล์) |
จำนวนทางวิ่ง | 2 |
ลักษณะทางวิ่ง | เส้นทางระยะไกล |
รางกว้าง | 1,520 mm (4 ft 11 27⁄32 in) Russian gauge |
ระบบจ่ายไฟ | 3 kV DC/25 kV 50 Hz AC เหนือหัว |
ความเร็ว | 60–140 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (37–87 ไมล์ต่อชั่วโมง) |
การก่อสร้าง
แก้ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรียเริ่มก่อสร้างเต็มเวลาอย่างเป็นทางใน ค.ศ. 1891 โดยมีเซย์เกย์ วิตต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้ควบคุมการสร้าง
ผลกระทบ
แก้รถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย สร้างผลประโยชน์ด้านบวกให้แก่เกษตรกรในไซบีเรีย เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าไปยังภาคกลางของรัสเซียและใจกลางยุโรปอย่างเป็นรูปธรรม เป็นการคมนาคมที่มีอิทธิพลมากในประเทศ เช่นเดียวกันกับการเดินเรือ
รถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย มีส่วนช่วยในการอพยพประชาชนจากภาคตะวันตกของรัสเซียและยูเครน[2] โดยในช่วงระหว่าง ค.ศ. 1906-1914 เป็นช่วงที่มีการอพยพสูงสุด โดยมีผู้โดยสารกว่า 4 ล้านคน อพยพเข้าไปในดินแดนไซบีเรีย[3]
เส้นทาง
แก้สายทรานส์-ไซบีเรีย
แก้เส้นทางสายหลักที่ใช้กันทั่วไปมีดังนี้ ระยะทางและเวลาเดินทางอ้างอิงจากตารางรถไฟขบวนที่ 002M มอสโก–วลาดีวอสตอค[4]
ที่ตั้ง | ระยะทาง | เวลาเดินทาง | เขตเวลา | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
มอสโก, สถานียาโรสลาฟสกี | 0 km (0 mi) | เวลามอสโก (MT) | ||
วลาดีมีร์ | 210 km (130 mi) | MT | ||
นิจนีนอฟโกรอด | 461 km (286 mi) | 6 ชั่วโมง | MT | ริมแม่น้ำโวลกา |
คีรอฟ | 917 km (570 mi) | 13 ชั่วโมง | MTa | ริมแม่น้ำยาตกา |
เปียร์ม | 1,397 km (868 mi) | 20 ชั่วโมง | MT+2 | ริมแม่น้ำคามา |
เยคาเตรินบุร์ก | 1,816 km (1,128 mi) | 1 วัน 2 ชั่วโมง | MT+2 | ในเทือกเขายูรัล, ยังคงเรียกสเวียร์ดลอฟสค์ ตามชื่อเก่าของโซเวียตในตารางเวลาส่วนใหญ่ |
ตูย์เมน | 2,104 km (1,307 mi) | MT+2 | ||
ออมสค์ | 2,676 km (1,663 mi) | 1 วัน 14 ชั่วโมง | MT+3 | ริมแม่น้ำอีร์ติช |
โนโวซีบีสค์ | 3,303 km (2,052 mi) | 1 วัน 22 ชั่วโมง | MT+4 | ริมแม่น้ำอ็อบ; แยกไปรถไฟเตอร์กิสถาน-ไซบีเรียที่นี่ |
ครัสโนยาสค์ | 4,065 km (2,526 mi) | 2 วัน 11 ชั่วโมง | MT+4 | ริมแม่น้ำเยนีเซย์ |
ไตเชต | 4,483 km (2,786 mi) | MT+5 | เชื่อมต่อกับทางรถไฟสายหลักไบคาล-อามูร์ | |
อีร์คุตสค์ | 5,153 km (3,202 mi) | 3 วัน 4 ชั่วโมง | MT+5 | ใกล้กับปลายสุดด้านใต้ของทะเลสาบไบคาล |
อูลัน-อูเด | 5,609 km (3,485 mi) | 3 วัน 12 ชั่วโมง | MT+5 | ฝั่งตะวันออกของทะเลสาบไบคาล |
เชื่อมต่อกับทางรถไฟสายทรานส์-มองโกเลีย | 5,622 km (3,493 mi) | |||
ชีตา | 6,166 km (3,831 mi) | 3 วัน 22 ชั่วโมง | MT+6 | |
เชื่อมต่อกับทางรถไฟสายทรานส์-แมนจูเรียที่ทาร์สกายา | 6,274 km (3,898 mi) | MT+6 | ||
บีโรบิดจัน | 8,312 km (5,165 mi) | 5 วัน 13 ชั่วโมง | MT+7 | เมืองหลวงของแคว้นปกครองตนเองยิว |
ฮาบารอฟสค์ | 8,493 km (5,277 mi) | 5 วัน 15 ชั่วโมง | MT+7 | ริมแม่น้ำอามูร์ |
อุสซูรีสค์ | 9,147 km (5,684 mi) | MT+7 | เชื่อมต่อกับทางรถไฟสายทรานส์-แมนจูเรีย และสายแยกเกาหลี; ตั้งอยู่ในบารานอฟสกี้, 13 km (8 ไมล์) จากอุสซูรีสค์ | |
วลาดีวอสตอค | 9,289 km (5,772 mi) | 6 วัน 4 ชั่วโมง | MT+7 | ริมมหาสมุทรแปซิฟิก |
ขบวนรถไปยังเกาหลีเหนือเชื่อมต่อจากอุสซูริสค์ผ่าน: | ||||
สถานีพรีมอร์สกายา | 9,257 km (5,752 mi) | 6 วัน 14 ชั่วโมง | MT+7 | |
คาซาน | 9,407 km (5,845 mi) | 6 วัน 19 ชั่วโมง | MT+7 | ติดกับชายแดนเกาหลีเหนือ |
ถูเหมินกัง | 9,412 km (5,848 mi) | 7 วัน 10 ชั่วโมง | MT+6 | ชายแดนฝั่งเกาหลีเหนือ |
เปียงยาง | 10,267 km (6,380 mi) | 9 วัน 2 ชั่วโมง | MT+6 |
เหรียญที่ระลึก
แก้ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Lonely Planet Guide to the Trans-Siberian Railway เก็บถาวร 2012-09-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Lonely Planet Publications, retrieved 2013.
- ↑ Subtelny, Orest (2000). "Ukraine: a history.". University of Toronto Press. p. 262. ISBN 0-8020-8390-0
- ↑ N. M. Dronin, E. G. Bellinger (2005). "Climate dependence and food problems in Russia, 1900–1990: the interaction of climate and agricultural policy and their effect on food problems". Central European University Press. p. 38. ISBN 963-7326-10-3
- ↑ "CIS railway timetable, route No. 002, Moscow-Vladivostok". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 December 2009.
บรรณานุกรม
แก้- Marks, S.G. Road to Power: The Trans-Siberian Railroad and the Colonization of Asian Russia, 1850–1917, 1991, ISBN 0-8014-2533-6
- Faulstich, Edith. M. "The Siberian Sojourn" Yonkers, N.Y. (1972–1977)
- Thomas, Bryn, The Trans-Siberian Handbook, 6th ed, 2003, Trailblazer, ISBN 1-873756-70-4
- (รัสเซีย) Калиничев, В. П. Великий Сиберский путь (историко-экономический очерк), 1991, Транспорт, Москва, ISBN 5-277-00758-X
- Omrani, Bijan. Asia Overland: Tales of Travel on the Trans-Siberian and Silk Road Odyssey Publications, 2010 ISBN 962-217-811-1
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้แผนที่เส้นทาง:
ไฟล์ KML (แก้ไข • วิธีใช้)
|
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย
- Russian Railways - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
- Overview of passenger travel today
- "A 1903 map of Trans-Siberian railway". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 มกราคม 2013. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2014.
- Guide to the Great Siberian Railway (1900)
- M. Mikhailoff (พฤษภาคม 1900). . the North American Review. 170 (522).
- Deborah Manley, บ.ก. (มกราคม 2009). The Trans-Siberian Railway: A Traveller's Anthology. ISBN 1-904955-49-5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 มีนาคม 2012.
- Winchester, Clarence, บ.ก. (1936). "The Trans-Siberian Express". Railway Wonders of the World. pp. 451–457. illustrated description of the route and the train.