ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022

ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022 เป็นการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ฤดูกาล 2021–22, ฤดูกาลแรกของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรลำดับที่สามของยุโรป จัดขึ้นโดยยูฟ่า นัดนี้จะลงเล่นในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022) ที่ อาเรนากอมเบอตาเร ในเมือง ติรานา ประเทศแอลเบเนีย,[5][6] ระหว่างสโมสรจากอิตาลี โรมา และสโมสรจากเนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด.

ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022
อาเรนากอมเบอตาเร ใน ติรานา จะเป็นเจ้าภาพสำหรับนัดชิงชนะเลิศ.
รายการยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ฤดูกาล 2021–22
วันที่25 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 (2022-05-25)
สนามอาเรนากอมเบอตาเร, ติรานา
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
คริส สมอลลิง (โรมา)[1]
ผู้ตัดสินอิสต์วัน คอวัคส์ (โรมาเนีย)[2]
ผู้ชม19,597 คน[3]
สภาพอากาศแดดจัด
23 องศาเซลเซียส (73 องศาฟาเรนไฮต์)
51% ความชื้นสัมพัทธ์[4]
2023

ผู้ชนะจะมีสิทธิ์เข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มของ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2022–23, เว้นแต่พวกเขาจะได้ผ่านเข้ารอบสำหรับแชมเปียนส์ลีกหรือยูโรปาลีกผ่านผลงานในลีกของพวกเขาแล้ว (ในกรณีนี้ที่รายการเข้าถึงจะได้รับการปรับสมดุล).

สนามแข่งขัน

แก้
 
สนาม อาเรนากอมเบอตาเร ใน ติรานา จะเป็นเจ้าภาพสำหรับนัดชิงชนะเลิศ.

นี่จะเป็นแมตช์รอบชิงชนะเลิศยูฟ่าครั้งแรกที่จะลงเล่นที่ประเทศแอลเบเนีย. ที่นั่ง 21,690 อาเรนากอมเบอตาเร เป็นสนามเหย้าของ ทีมชาติแอลเบเนีย,เช่นเดียวกับสโมสร ดีนาโม ติรานา และ ปาร์ตีซานี. สนามกีฬาเริ่มก่อสร้างในปี 2559,[7] และเปิดในเดือนพฤศจิกายน ปี 2019.[8]

การคัดเลือกเป็นเจ้าภาพ

แก้

ยูฟ่าเปิดตัวกระบวนการประมูลเพื่อเลือกสถานที่แข่งขันรอบชิงชนะเลิศของยูฟ่า ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ในปี 2022 และ 2023. สมาคมที่สนใจเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศมีเวลาจนถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 เพื่อยื่นเอกสารเสนอราคา.

สมาคมที่จัดประมูลยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก รอบชิงชนะเลิศ 2022
ประเทศ สนามกีฬา เมือง ความจุ หมายเหตุ
  แอลเบเนีย อาเรนากอมเบอตาเร ติรานา 22,500 เสนอตัวสำหรับ 2019 และ 2020 ยูฟ่าซูเปอร์คัพ
  ฝรั่งเศส สนามกีฬาฌอฟรัว กีชาร์ แซ็งเตเตียน 41,965 แมตช์ที่ใช้เป็นเจ้าภาพฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984 และ 2016, ฟุตบอลโลก 1998, 2003
  กรีซ สนามกีฬาพันคริติโอ ฮีราคลีออน 26,240 แมตช์ที่ใช้เป็นเจ้าภาพ การแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิก 2004
  มาซิโดเนียเหนือ ตอเช ปรอเอสกี อารีนา สโกเปีย 33,460 เป็นเจ้าภาพจัด ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2017

สนาม อาเรนากอมเบอตาเร ได้ถูกรับเลือกโดยคณะกรรมการบริหารยูฟ่าระหว่างการประชุมของพวกเขาเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2020.[9][10][6][11]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ

แก้

หมายเหตุ: ในตาราง, ผลการแข่งขันของผู้เข้าชิงชนะเลิศจะได้รับเป็นชื่อแรก (H = เหย้า; A = เยือน).

  โรมา รอบ   ไฟเยอโนร์ด
คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง รอบคัดเลือก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง
บาย รอบคัดเลือกรอบสอง   ดริตา 3–2 0–0 (A) 3–2 (H)
รอบคัดเลือกรอบสาม   ลูเซิร์น 6–0 3–0 (A) 3–0 (H)
  ทรับซอนสปอร์ 5–1 2–1 (A) 3–0 (H) รอบเพลย์ออฟ   ไอเอฟ เอล์ฟสบอร์ก 6–3 5–0 (H) 1–3 (A)
คู่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผล
  ซีเอสเคเอ โซเฟีย 5–1 (H) นัดที่ 1   มัคคาบีไฮฟา 0–0 (A)
  ซอร์ยา ลูแฮนส์ค 3–0 (A) นัดที่ 2   สลาเวียปราฮา 2–1 (H)
  โบโด/กลิมต์ 1–6 (A) นัดที่ 3   อูนีโอนแบร์ลีน 3–1 (H)
  โบโด/กลิมต์ 2–2 (H) นัดที่ 4   อูนีโอนแบร์ลีน 2–1 (A)
  ซอร์ยา ลูแฮนส์ค 4–0 (H) นัดที่ 5   สลาเวียปราฮา 2–2 (A)
  ซีเอสเคเอ โซเฟีย 3–2 (A) นัดที่ 6   มัคคาบีไฮฟา 2–1 (H)
ชนะเลิศ กลุ่ม ซี
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   โรมา 6 13
2   โบโด/กลิมต์ 6 12
3   ซอร์ยา ลูแฮนส์ค 6 7
4   ซีเอสเคเอ โซเฟีย 6 1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
ตารางคะแนน ชนะเลิศ กลุ่ม อี
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   ไฟเยอโนร์ด 6 14
2   สลาเวียปราฮา 6 8
3   อูนีโอนแบร์ลีน 6 7
4   มัคคาบีไฮฟา 6 4
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง
บาย รอบแพ้คัดออกเพลย์ออฟ บาย
  ฟีเตสเซอ 2–1 1–0 (A) 1–1 (H) รอบ 16 ทีมสุดท้าย   ปาร์ติซาน 8–3 5–2 (A) 3–1 (H)
  โบโด/กลิมต์ 5–2 1–2 (A) 4–0 (H) รอบก่อนรองชนะเลิศ   สลาเวียปราฮา 6–4 3–3 (H) 3–1 (A)
  เลสเตอร์ซิตี 2–1 1–1 (A) 1–0 (H) รอบรองชนะเลิศ   มาร์แซย์ 3–2 3–2 (H) 0–0 (A)

นัด

แก้

รายละเอียด

แก้

ทีม "เจ้าบ้าน" (สำหรับวัตถุประสงค์ในการจัดการ) จะได้รับการกำหนดขึ้นโดยการจับสลากเพิ่มเติมเกิดขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ.

โรมา  1–0  ไฟเยอโนร์ด
รายงาน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
โรมา[4]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไฟเยอโนร์ด[4]
GK 1   รุย ปาตรีซียู   84'
CB 23   จันลูกา มันชีนี
CB 6   คริส สมอลลิง
CB 3   โรเฌร์ อิบาเญซ
DM 77   แฮนริค มะคีทาเรียน   17'
DM 4   ไบรอัน กริสตันเต
RM 2   ริค คาร์สดอร์ป   89'
LM 59   นิโคลา ซาลิวสกี   66'   67'
AM 22   นีโกเลาะ ซานีโอโล   67'
AM 7   โลเรนโซ เปลเลกรีนี (กัปตัน)   37'
CF 9   แทมมี อับราฮัม   89'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 87   ดาเนียล ฟูซาโต
DF 5   มาติอัส บิญญา   89'
DF 15   เอนส์ลีย์ เมตแลนด์-ไนลส์
DF 24   มาราช คุมบุลลา
DF 37   เลโอนาร์โด สปีนัซโซลา   90+4'   67'
MF 17   ฌอร์ด็อง แวร์ตูร์   67'
MF 27   แซร์ฌียู โอลิเวยรา   17'
MF 52   เอโดอาร์โด โบเว
FW 11   การ์เลส เปเรซ
FW 14   เอลดอร์ โชมูโรดอฟ   89'
FW 64   เฟลิกซ์ อเฟนา-กียาน
FW 92   สเตฟาน เอล ชาราวี
ผู้จัดการทีม:[note 1]
  โชเซ มูรีนโย
 
GK 1   จัสติน บิจโลว์ (กัปตัน)
RB 3   ลุตชาเรล เกียร์ทรุยดา
CB 18   เกอร์น็อต เทราเนอร์   25'   74'
CB 4   มาร์กอส เซเนซี
LB 5   ไทเรลล์ มาลาเซีย   88'
CM 26   กึส ตีล   59'
CM 17   เฟรดริค เอิร์สเนส
CM 10   ออร์คูน ค๊อกคู   88'
RF 14   รีสส์ เนลสัน   74'
CF 33   ไซเรียล เดสเซอร์ส
LF 7   หลุยส์ ซินิสเตร์รา
ผู้เล่นสำรอง:
GK 16   วาเลนติน โคโจคารู
GK 21   โอฟีร์ มาร์เซียนู
GK 30   ไทจ์ส ยันส์เซิน
DF 2   มาร์คุส โฮล์มเกรน พีเดอร์เซน   74'
DF 13   ฟิลิปเป ซันด์แลร์
DF 25   ราโมน เฮนดริกส์
DF 32   เด็นเซล ฮอลล์
MF 6   ยอร์ริต เฮนดริกซ์
MF 28   เยนส์ ตูร์นสตรา   59'
FW 9   แอลีเรซอ แจฮอนแบฆช์   88'
FW 11   บรายอัน ลินส์เซิน   74'
FW 23   พาทริก วาเลมาร์ค   88'
ผู้จัดการทีม:
  อาร์เนอ สลอต

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
คริส สมอลลิง (โรมา)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Vasile Marinescu (โรมาเนีย)
Ovidiu Artene (โรมาเนีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
Sandro Schärer (สวิตเซอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Marco Fritz (เยอรมนี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Christian Dingert (เยอรมนี)
ผู้ช่วยสนับสนุนผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Bastian Dankert (เยอรมนี)

ข้อมูลในการแข่งขัน[12]

  • แข่งขันเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • มีชื่อรายชื่อผู้เล่นสำรอง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นสูงสุดห้าคน, กับอนุญาตเปลี่ยนผู้เล่นคนที่หกได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ[note 2]

ดูเพิ่ม

แก้

หมายเหตุ

แก้
  1. ผู้ช่วยผู้จัดการทีมโรมา ซัลวาตอเร ฟอติ ได้รับใบเหลืองหนึ่งใบ (59').
  2. แต่ละทีมจะได้รับสิทธิ์สามครั้งที่จะได้เปลี่ยนตัวผู้เล่น, กับโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่เกิดชึ้นในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนที่จะเริ่มต้นของช่วงต่อเวลาพิเศษและช่วงพักครึ่งเวลาแรกในการต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "Smalling named official UEFA Europa Conference League final Laufenn Player of the Match". UEFA.com. Union of European Football Associations. 25 May 2022. สืบค้นเมื่อ 25 May 2022.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Referee teams appointed for 2022 UEFA club competition finals". UEFA.com. Union of European Football Associations. 11 May 2022. สืบค้นเมื่อ 11 May 2022.
  3. 3.0 3.1 "Full Time Summary Final – Roma v Feyenoord" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 25 May 2022. สืบค้นเมื่อ 25 May 2022.
  4. 4.0 4.1 4.2 "Tactical Lineups – Final – Wednesday 25 May 2022" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 25 May 2022. สืบค้นเมื่อ 25 May 2022.
  5. "UEFA Europa Conference League: all you need to know". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2 December 2020. สืบค้นเมื่อ 3 December 2020.
  6. 6.0 6.1 "Tirana to host first UEFA Europa Conference League Final". UEFA.com. Union of European Football Associations. 3 December 2020. สืบค้นเมื่อ 3 December 2020.
  7. "Fillon zyrtarisht prishja e stadiumit Qemal Stafa" [The demolition of Qemal Stafa Stadium has officially begun] (ภาษาแอลเบเนีย). Albanian Public Television. Albanian Public Television. 9 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2016. สืบค้นเมื่อ 9 June 2016.
  8. "2022 UEFA Europa Conference League final: Tirana". UEFA. 5 May 2022. สืบค้นเมื่อ 7 May 2022.
  9. "EPO plans to submit bid to host UEFA Europa Conference League final". AGONAsport. 28 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-18. สืบค้นเมื่อ 12 August 2020.
  10. "UEFA Executive Committee agenda for December meeting". UEFA.com. Union of European Football Associations. 27 November 2020. สืบค้นเมื่อ 27 November 2020.
  11. "Tirana to stage first Europa Conference League final in 2022". UEFA.com. Union of European Football Associations. 3 December 2020.
  12. "Regulations of the UEFA Europa Conference League, 2021/22 Season". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2021. สืบค้นเมื่อ 30 April 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้