ยุทธการที่เกาะเวก

ยุทธการที่เกาะเวก ได้เริ่มต้นพร้อมกันกับการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ ฐานทัพเรือ/อากาศ ในฮาวาย และสิ้นสุดในวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ด้วยการยอมจำนนของกองทัพอเมริกันต่อจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นการสู้รบบนและรอบๆเกาะประการังรูปวงแหวนที่เกิดขึ้นจากเกาะเวกและเกาะเล็กน้อย และเกาะวิลค์สโดยกองกำลังทางอากาศ, บก และเรือของจักรวรรดิญี่ปุ่นต่อสหรัฐอเมริกา กับนาวิกโยธินได้มีบทบาทที่สำคัญทั้งสองฝ่าย

ยุทธการที่เกาะเวก
ส่วนหนึ่งของ เขตสงครามแปซิฟิกในสงครามแปซิฟิก

เรือลาดตระเวนของญี่ปุ่นที่ถูกทำลาย (#33) บนเวก
วันที่8–23 ธันวาคม ค.ศ. 1941
สถานที่
เกาะเวก, ดินแดนสหรัฐอเมริกา
ผล ญี่ปุ่นชนะ
คู่สงคราม
 ญี่ปุ่น  สหรัฐ
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
จักรวรรดิญี่ปุ่น Shigeyoshi Inoue
จักรวรรดิญี่ปุ่น Sadamichi Kajioka
จักรวรรดิญี่ปุ่น Shigematsu Sakaibara
จักรวรรดิญี่ปุ่น Eiji Gotō
จักรวรรดิญี่ปุ่น Tamon Yamaguchi
สหรัฐ Winfield S. Cunningham (เชลย)
สหรัฐ James P.S. Devereux (เชลย)
สหรัฐ Paul A. Putnam (เชลย)
สหรัฐ Henry T. Elrod 
กำลัง
First Attempt (11 December):
3 light cruisers
6 destroyers
2 patrol boats
2 troop transports
Reinforcements arriving for Second Attempt (23 December):
2 aircraft carriers
2 heavy cruisers
2 destroyers
2,500 infantry[1]

449 USMC personnel consisting of:

6 coastal artillery pieces
12 aircraft
12 anti-aircraft guns
68 U.S. Navy personnel
5 U.S. Army personnel
ความสูญเสีย
First attempt:
2 destroyers sunk
340 killed
65 wounded
2 missing[2]
Second attempt:
2 patrol boats wrecked
10 aircraft lost
20 aircraft damaged
144 casualties[3]
52 killed
49 wounded
2 missing
12 aircraft lost[4]
433 captured[5]
70 civilians killed
1,104 civilians interned, of whom 180 died in captivity[6]

เกาะแห่งนี้ได้ตกเป็นของญี่ปุ่นสำหรับช่วงเวลาของเขตสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง ทหารญี่ปุ่นที่เหลืออยู่รักษาการณ์บนเกาะได้ยอมจำนนต่อกองทหารนาวิกโยธินสหรัฐ เมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1945 ภายหลังจากการยอมจำนนก่อนหน้านี้บนเรือรบประจัญบาน ยูเอสเอส มิสซูรี ในอ่าวโตเกียว ต่อนายพล ดักลาส แมคอาร์เทอร์[7]

อ้างอิง แก้

  1. Naval and air personnel not included.
  2. Dull 2007, p. 24.
  3. Dull 2007, p. 26.
  4. Martin Gilbert, the Second World War (1989) pg 282
  5. 20 later died in captivity
  6. "The Defense of Wake". Ibiblio.org/.
  7. "War in the Pacific NHP: Liberation - Guam Remembers". nps.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-17. สืบค้นเมื่อ 2014-09-13.