ยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1943)

ยุทธการที่สโมเลนสค์ ครั้งที่สอง(7 สิงหาคม – 2 ตุลาคม ค.ศ. 1943) เป็นปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์ของโซเวียตที่ถูกดำเนินโดยกองทัพแดงซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการทัพฤดูร้อน-ฤดูใบไม้ร่วง ปี ค.ศ. 1943 การเปิดฉากการรบที่พร้อมไปกับการรุกแม่น้ำนีเปอร์ตอนล่าง(13 สิงหาคม-22 กันยายน) การรุกได้กินเป็นเวลาสองเดือนและภายใต้การนำโดยนายพล อันเดรย์ เยเรเมนโก ซึ่งได้บัญชาการแนวรบคาลินิน และ วาซีลี โซโคลอฟสกี ซึ่งได้บัญชาการแนวรบตะวันตก เป้าหมายคือการกวาดล้างกองกำลังเยอรมันไปจากภูมิภาคสโมเลนสก์และ Bryansk สโมเลนสก์นั้นอยู่ภายใต้การยึดครองของเยอรมันนับตั้งแต่ยุทธการที่สโมเลนสก์ครั้งที่หนึ่งในปี ค.ศ. 1941

ยุทธการที่สโมเลนสค์ครั้งที่สอง
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง

ทหารเยอรมันได้ทำการป้องกันสโมเลนสก์ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1943
วันที่7 สิงหาคม – 2 ตุลาคม ค.ศ. 1943
สถานที่
ผล โซเวียตชนะ
คู่สงคราม
 ไรช์เยอรมัน
พันธมิตรฝ่ายอักษะ
 สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ อันเดรย์ เยเรเมนโก
วาซีลี โซโคลอฟสกี
กำลัง
Soviet estimate: 850,000 men
8,800 guns
500 tanks
700 aircraft[1]
1,252,600 men[2]
20,640 guns
1,430 tanks
1,100 aircraft[1]
ความสูญเสีย
'German sources:[3]
Total
: 70,593
3 panzer army 10.08 - 30.09.43: 765 KIA, 3,386 WIA, 270 MIA;
4 army 10.08 - 30.09.43: 8,825 KIA, 35,237 WIA, 4,127 MIA
9 army 20.08 - 30.09.43: 3,394 KIA, 12,688 WIA, 1,901 MIA
Soviet sources: 200,000–250,000 casualties[4]
Soviet sources: 451,466 overall
(Including 107,645 killed, missing or captured
343,821 wounded and sick[2])

แม้ว่าการป้องกันของเยอรมันที่น่าประทับใจ กองทัพแดงสามารถที่จะบุกทะลวงได้หลายครั้ง ปลดปล่อยเมืองสำคัญหลายเมือง รวมทั้งสโมเลนสก์และ Roslavl ด้วยผลลัพธ์ของปฏิบัติการครั้งนี้ กองทัพแดงสามารถที่จะเริ่มวางแผนสำหรับการปลดปล่อยเบลารุส อย่างไรก็ตาม การรุกทั้งหมดเป็นความอ่อนด้อยและเชื่องช้าเมื่อเผชิญหน้าการต้านทานอย่างหนักของเยอรมัน และปฏิบัติการครั้งนี้ได้ประสบความสำเร็ขในสามขั้นตอนคือ 7-20 สิงหาคม 21 สิงหาคม-6 กันยายน และ 7 กันยายน-2 ตุลาคม

แม้ว่าการมีบทบาทการทหารที่สำคัญในสิทธิของตน ปฏิบัติการสโมเลนสก์ยังมีความสำคัญสำหรับผลกระทบต่อยุทธการที่แม่น้ำนีเปอร์ มีจำนวนทหารประมาณหลายนายของ 55 กองพลเยอรมันได้รับมอบหมายให้ทำการตอบโต้ปฏิบัติการสโมเลนสก์-กองพลนี้จะมีส่วนสำคัญเพื่อขัดขวางไม่ให้ทหารโซเวียตจากการก้าวข้ามแม่น้ำนีเปอร์ในทางตอนใต้ ในหลักสูตรของปฏิบัติการ กองทัพแดงยังแตกหักขับไล่กองทัพเยอรมันออกไปจากสะพานแผ่นดินสโมเลนสก์ ในประวัติศาสตร์เป็นทางยุทธวิธีที่สำคัญที่สุดสำหรับการโจมตีทางตะวันตกต่อกรุงมอสโก

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 A.A. Grechko and al., History of Second World War, Moscow, 1973–1979, tome 7, p.241
  2. 2.0 2.1 Glantz (1995), p. 297
  3. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 พฤษภาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2014.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  4. V.A. Zolotarev and al., Great Patriotic War 1941–1945, Moskva, 1998, p 473.