มูลนิธิลินุกซ์ (อังกฤษ: Linux Foundation - LF) เป็นองค์กรไม่แสวงผลกำไรโดยทำการดูแล ระบบปฏิบัติการลินุกซ์

มูลนิธิลินุกซ์
ก่อนหน้า
ก่อตั้ง2000; 24 ปีที่แล้ว (2000)
ประเภทองค์กรประเภท 501(c)(6)
วัตถุประสงค์Build sustainable ecosystems around open source projects to accelerate technology development and commercial adoption.
ที่ตั้ง
สมาชิก
สมาชิกองค์กรมากกว่า 1,000 องค์กร
บุคลากรหลัก
บุคคลสำคัญ
  • Linus Torvalds
  • Jim Zemlin
  • Mike Woster
  • Mike Dolan
  • Karen Copenhaver
  • Abby Kearns
  • Arpit Joshipura
  • Brian Behlendorf
  • Andy Updegrove
  • Angela Brown
  • Chris Aniszczyk
  • Heather Kirksey
  • Kate Stewart
  • Dan Cauchy
  • Noriaki Fukuyasu
  • Clyde Seepersad
  • Dan Kohn
  • Calista Redmond
  • Robin Ginn
  • Shubhra Kar
ลูกจ้าง
150
เว็บไซต์www.linuxfoundation.org

มูลนิธิลินุกซ์ เริ่มต้นใน พ.ศ. 2543 ภายใต้องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร Open Source Development Labs (OSDL) และกลายเป็นองค์กรเมื่อ Open Source Development Labs ถูกรวมเข้ากับ Free Standards Group (FSG) มูลนิธิลินุกซ์ถูกเริ่มขึ้นด้วย ลินุส โตร์วัลดส์ ผู้สร้างลินุกซ์ โดยมีหัวหน้าด้านการบำรุงรักษาคือ Greg Kroah-Hartman และสนับสนุนโดยนักพัฒนาจากทั่วโลกและบริษัทชั้นนำจากทั่วโลก อย่าง AT&T, Cisco, Facebook,[1] Fujitsu, Google, Hitachi, Huawei, IBM, Intel, Microsoft,[2] NEC, Oracle, Orange S.A., Qualcomm, Samsung,[3] Tencent, และ VMware มูลนิธิลินุกซ์ได้ส่งเสริม คุ้มครอง โดยความก้าวหน้า การพัฒนา สนับสนุนร่วมกันทำให้ลีนุกซ์ กลายเป็นประวัติศาสตร์ในการแบ่งทรัพยากรเทคโนโลยีที่เยี่ยมที่สุด

เป้าหมาย

แก้

มูลนิธิลินุกซ์ทุ่มเทให้กับการสร้างระบบนิเวศที่ยั่งยืนรอบโครงการโอเพ่นซอร์สเพื่อเร่งการพัฒนาเทคโนโลยีและการนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ปัจจุบันมูลนิธิสนับสนุนงานของผู้สร้างลินุกซ์ Linus Torvalds และผู้ดูแลหลัก Greg Kroah-Hartman และมีเป้าหมายเพื่อเป็นบ้านที่เป็นกลางสำหรับการพัฒนาเคอร์เนลลินุกซ์ที่สามารถป้องกันและเร่งความเร็วได้[4]

อ้างอิง

แก้
  1. Than 1, More; Members, 000; Software, Is the World’s Leading Home for Collaboration on Open Source; St, Open; ards; Data, Open; Linux, open hardware Linux Foundation’s projects are critical to the world’s infrastructure including; Kubernetes; Node.js (2020-08-13). "Facebook's Long History of Open Source Investments Deepens with Platinum-level Linux Foundation Membership". The Linux Foundation (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-08-13.{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  2. "Microsoft—yes, Microsoft—joins the Linux Foundation". 2016-11-16. สืบค้นเมื่อ 22 June 2017.
  3. Latif, Lawrence (2012-06-06). "Samsung takes a seat with Intel and IBM at the Linux Foundation". The Inquirer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 7, 2012. สืบค้นเมื่อ 2013-11-13.{{cite web}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์)
  4. Prakash, Abhishek. "Linus Torvalds: 20 Facts About the Creator of Linux". itsfoss.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-10-19.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้