มาเลเซียซูเปอร์ลีก

มาเลเซียซูเปอร์ลีก (อังกฤษ: Malaysia Super League) หรือชื่อที่ใช้ปัจจุบันคือ ลีกาซูเปอร์มาเลเซีย (มลายู: Liga Super Malaysia) ตามชื่อผู้สนับสนุนหลัก เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศมาเลเซีย ก่อตั้งในปี ค.ศ. 2004

มาเลเซียซูเปอร์ลีก
Malaysia Super League
Liga Super Malaysia
ليݢ سوڤر مليسيا
மலேசியன் சூப்பர் லீகா
ก่อตั้ง14 กุมภาพันธ์ 2004; 20 ปีก่อน (2004-02-14)
ประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย
สมาพันธ์เอเอฟซี
จำนวนทีม12 (ตั้งแต่ปี 2013)
ระดับในพีระมิด1
ตกชั้นสู่มาเลเซียพรีเมียร์ลีก
ถ้วยระดับประเทศมาเลเซียเอฟเอคัพ
มาเลเซียคัพ
Piala Sumbangsih
ถ้วยระดับนานาชาติเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
เอเอฟซีคัพ
ทีมชนะเลิศปัจจุบันโจโฮร์ ดารุล ตักซิม (2023)
ชนะเลิศมากที่สุดโจโฮร์ ดารุล ตักซิม (10 สมัย)
หุ้นส่วนโทรทัศน์Media Prima
เว็บไซต์Official Website
ปัจจุบัน: มาเลเซียซูเปอร์ลีก ฤดูกาล 2023

สถิติ แก้

ทำเนียบแชมป์ แก้

ปี ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม
2004 ศรีปะหัง Public Bank ปะลิส
2005 ปะลิส ศรีปะหัง Perak
2005–06 เนอเกอรีเซิมบีลัน TM FC Perak
2006–07 เกอดะฮ์ Perak DPMM
2007–08 เกอดะฮ์ เนอเกอรีเซิมบีลัน โจโฮร์
2009 เซอลาโงร์ ปะลิส เกอดะฮ์
2010 เซอลาโงร์ กลันตัน ตรังกานู
2011 กลันตัน ตรังกานู เซอลาโงร์
2012 กลันตัน   ไลออนส์ 12 เซอลาโงร์
2013   ไลออนส์ 12 เซอลาโงร์ โจโฮร์ดารุลตักซิม
2014 โจโฮร์ดารุลตักซิม เซอลาโงร์ ศรีปะหัง
2015 โจโฮร์ดารุลตักซิม เซอลาโงร์ ศรีปะหัง
2016 โจโฮร์ดารุลตักซิม Felda United เกอดะฮ์
2017 โจโฮร์ดารุลตักซิม ศรีปะหัง Felda United
2018 โจโฮร์ดารุลตักซิม Perak พีเคเอ็นเอส
2019 โจโฮร์ดารุลตักซิม ศรีปะหัง เซอลาโงร์
2020 โจโฮร์ดารุลตักซิม เกอดะฮ์ ตรังกานู
2021 โจโฮร์ดารุลตักซิม เกอดะฮ์ดารุลอามัน ปีนัง
2022 โจโฮร์ดารุลตักซิม ตรังกานู ซาบะฮ์
2023 โจโฮร์ดารุลตักซิม เซอลาโงร์ เกอดะฮ์ดารุลอามัน

ทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด แก้

อันดับ สโมสร ชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ
1 โจโฮร์ดารุลตักซิม 10 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020, 2021, 2022, 2023
2 เกอดะฮ์ดารุลอามัน 2 2006–07, 2007–08
เซอลาโงร์ 2009, 2010
กลันตัน 2011, 2012
5 ศรีปะหัง 1 2004
ปะลิส 2005
เนอเกอรีเซิมบีลัน 2005–06
  ไลออนส์ 12 2013

สโมสรที่เข้าร่วมมาเลเซียซูเปอร์ลีก (ฤดูกาล 2021) แก้

ทีม ที่ตั้ง สนาม ความจุ
กัวลาลัมเปอร์ ซิตี กัวลาลัมเปอร์ สนามกีฬากัวลาลัมเปอร์ 18,000
เกอดะฮ์ดารุลอามัน อาโลร์เซอตาร์ (รัฐเกอดะฮ์) สนามกีฬาดารุลอามัน 32,387[1]
โจโฮร์ดารุลตักซิม อิซกันดาร์ปูเตอรี (รัฐยะโฮร์) สนามกีฬาซุลตันอิบราฮิม 40,000[2]
ซาบะฮ์ โกตากีนาบาลู (รัฐซาบะฮ์) สนามกีฬาลีกัซ 35,000[3]
เซอลาโงร์ ชะฮ์อาลัม (รัฐเซอลาโงร์) สนามกีฬาชะฮ์อาลัม 80,372
ตรังกานู กัวลาเตอเริงกานู (รัฐตรังกานู) สนามกีฬาซุลตันมีซัน ไซนัล อาบีดิน 50,000[4]
ปีนัง จอร์จทาวน์ (รัฐปีนัง) สนามกีฬาบันดารายาปูเลาปีนัง 20,000
เปรัก อีโปะฮ์ (รัฐเปรัก) สนามกีฬาเปรัก 42,500[5]
เปอตาลิงจายา ซิตี เปอตาลิงจายา (รัฐเซอลาโงร์) สนามกีฬาเปอตาลิงจายา 25,000
มะละกา ยูไนเต็ด กรูบง (รัฐมะละกา) สนามกีฬาฮังเจบัต 40,000[6]
ยูไอทีเอ็ม ชะฮ์อาลัม (รัฐเซอลาโงร์) สนามกีฬายูไอทีเอ็ม 10,000
ศรีปะหัง กวนตัน (รัฐปะหัง) สนามกีฬาดารุลมักมูร์ 40,000[7]
Source:

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Stadium Darul Aman". Perbadanan Stadium-Stadium Negeri Kedah Darul Aman. สืบค้นเมื่อ 4 November 2017.
  2. "Stadium Sultan Ibrahim". StadiumDB.com. สืบค้นเมื่อ 4 December 2019.
  3. "Sejarah SAFA". The Tambadau. สืบค้นเมื่อ 5 November 2017.
  4. "Kenali pasukan Terengganu". Sinar Harian. สืบค้นเมื่อ 3 November 2017.
  5. "Perak to play at Lumut Stadium in 2018". Stadium Astro. สืบค้นเมื่อ 11 January 2018.
  6. "Stadium Hang Jebat". Perbadanan Stadium Melaka. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-25. สืบค้นเมื่อ 4 November 2017.
  7. "Stadium Darul Makmur". StadiumDB.com. สืบค้นเมื่อ 3 November 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้