มงเทรอวอลลีย์แมสเตอส์

มงเทรอวอลลีย์แมสเตอส์ (ฝรั่งเศส: Montreux Volley Masters) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิง จัดขึ้นในเมืองมงเทรอ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1984

สรุปผลการแข่งขัน แก้

ปี รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1984  
เนเธอร์แลนด์
พบกันหมด  
สวิตเซอร์แลนด์
 
ฝรั่งเศส
พบกันหมด  
ยูโกสลาเวีย
5
1985  
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
อิตาลี
 
สวิตเซอร์แลนด์
พบกันหมด  
ยูโกสลาเวีย
5
1986  
ฝรั่งเศส
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
สวิตเซอร์แลนด์
พบกันหมด  
กรีซ
5
1987  
สวิตเซอร์แลนด์
พบกันหมด  
ยูโกสลาเวีย
 
กรีซ
พบกันหมด  
ฟินแลนด์
5
1988  
คิวบา
พบกันหมด  
จีน
 
ยูโกสลาเวีย
พบกันหมด  
ฟินแลนด์
6
1989  
คิวบา
พบกันหมด  
จีน
 
ญี่ปุ่น
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
9
1990  
จีน
พบกันหมด  
คิวบา
 
เกาหลีใต้
พบกันหมด  
เนเธอร์แลนด์
10
1991  
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
สหรัฐ
 
คิวบา
พบกันหมด  
จีน
8
1992  
คิวบา
พบกันหมด  
จีน
 
เกาหลีใต้
พบกันหมด  
สหรัฐ
8
1993  
คิวบา
พบกันหมด  
บราซิล
 
เกาหลีใต้
พบกันหมด  
สวิตเซอร์แลนด์
8
1994  
บราซิล
พบกันหมด  
จีน
 
รัสเซีย
พบกันหมด  
สหรัฐ
8
1995  
บราซิล
พบกันหมด  
คิวบา
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
รัสเซีย
8
1996  
คิวบา
พบกันหมด  
บราซิล
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
จีน
8
1998  
คิวบา
พบกันหมด  
จีน
 
รัสเซีย
พบกันหมด  
บราซิล
8
1999  
คิวบา
พบกันหมด  
จีน
 
อิตาลี
พบกันหมด  
บราซิล
8
2000  
จีน
พบกันหมด  
รัสเซีย
 
โครเอเชีย
พบกันหมด  
อิตาลี
8
2001  
คิวบา
พบกันหมด  
รัสเซีย
 
ญี่ปุ่น
พบกันหมด  
จีน
8
2002  
รัสเซีย
พบกันหมด  
อิตาลี
 
จีน
พบกันหมด  
เนเธอร์แลนด์
8
2003  
จีน
พบกันหมด  
รัสเซีย
 
บราซิล
พบกันหมด  
สหรัฐ
8
2004  
อิตาลี
พบกันหมด  
สหรัฐ
 
จีน
พบกันหมด  
คิวบา
8
2005  
บราซิล
พบกันหมด  
จีน
 
อิตาลี
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
8
2006  
บราซิล
พบกันหมด  
จีน
 
คิวบา
พบกันหมด  
อิตาลี
8
2007  
จีน
3–0  
คิวบา
 
เนเธอร์แลนด์
3–1  
เซอร์เบีย
8
2008  
คิวบา
พบกันหมด  
จีน
 
อิตาลี
พบกันหมด  
เนเธอร์แลนด์
6
2009  
บราซิล
3–0  
อิตาลี
 
จีน
3–1  
เนเธอร์แลนด์
8
2010  
จีน
3–1  
สหรัฐ
 
คิวบา
3–0  
รัสเซีย
8
2011  
ญี่ปุ่น
3–0  
คิวบา
 
จีน
3–1  
สหรัฐ
8
2013  
บราซิล
3–0  
รัสเซีย
 
สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–1  
อิตาลี
8
2014  
เยอรมนี
3–1  
สหรัฐ
 
รัสเซีย
3–2  
จีน
8
2015  
ตุรกี
3–2  
ญี่ปุ่น
 
เนเธอร์แลนด์
3–0  
รัสเซีย
8
2016  
จีน
3–0  
ไทย
 
ตุรกี
3–1  
เนเธอร์แลนด์
8
2017  
บราซิล
3–0  
เยอรมนี
 
จีน
3–1  
อาร์เจนตินา
8
2018  
อิตาลี
3–0  
รัสเซีย
 
ตุรกี
3–2  
บราซิล
8
2019  
โปแลนด์
3–1  
ญี่ปุ่น
 
อิตาลี
3–0  
ไทย
8

ตารางเหรียญการแข่งขัน แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  คิวบา94316
2  บราซิล72110
3  จีน69520
4  รัสเซีย[N 1]25310
5  อิตาลี2349
6  ญี่ปุ่น1225
7  สวิตเซอร์แลนด์1124
8  เยอรมนี1102
  โปแลนด์1102
10  ตุรกี1023
  เนเธอร์แลนด์1023
12  ฝรั่งเศส1012
13  เช็กเกีย[N 2]1001
14  สหรัฐ0426
15  เซอร์เบีย[N 3]0112
16  ไทย0101
17  เกาหลีใต้0033
18  กรีซ0011
  สาธารณรัฐโดมินิกัน0011
  โครเอเชีย0011
รวม (20 ประเทศ)343434102

หมายเหตุ แก้

  1. เอฟไอวีบี พิจารณาให้ประเทศรัสเซีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 1993) เป็นผู้สืบสิทธิของสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991) และเครือรัฐเอกราช (ค.ศ. 1992)
  2. เอฟไอวีบี พิจารณาให้ประเทศเช็กเกีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 1994) เป็นผู้สืบสิทธิของประเทศเชโกสโลวาเกีย (1948-1993)
  3. เอฟไอวีบี พิจารณาให้ประเทศเซอร์เบีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 2007) เป็นผู้สืบสิทธิของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1948 - ค.ศ. 1991), สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1992-ค.ศ. 2002) และ ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ค.ศ. 2003-ค.ศ. 2006)

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้