มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน
มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (อังกฤษ: Carnegie Mellon University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ในเมืองพิตซ์เบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 โดยสถาบันเทคโนโลยีคาร์เนกี และสถาบันวิจัยอุตสาหกรรมเมลลอน คาร์เนกีเมลลอนมีชื่อเสียงในฐานะมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกในด้านการผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรม วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และการแสดง[10]
ชื่อเดิม | Carnegie Technical Schools (1900–1912) Carnegie Institute of Technology (1912–1967) Mellon Institute of Industrial Research (1913–1967) |
---|---|
คติพจน์ | My heart is in the work |
ประเภท | มหาวิทยาลัยวิจัยเอกชน |
สถาปนา | 1967 |
ผู้สถาปนา | |
ได้รับการรับรอง | MSCHE |
สังกัดวิชาการ | |
ทุนทรัพย์ | 3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2022)[1] |
อธิการบดี | Farnam Jahanian |
ผู้เป็นประธาน | James Garrett |
อาจารย์ | 1,483 (มีนาคม ค.ศ. 2020)[2] |
ผู้ศึกษา | 15,818 (ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 2021)[3] |
ปริญญาตรี | 7,308 (ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 2021)[3] |
บัณฑิตศึกษา | 8,393 (ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 2021)[3] |
ที่ตั้ง | , รัฐเพนซิลเวเนีย , สหรัฐ 40°26′33″N 79°56′36″W / 40.44250°N 79.94333°W |
วิทยาเขต | Large City,[4] 157.2 เอเคอร์ (63.6 เฮกตาร์)[5] |
วิทยาเขตอื่น | |
หนังสือพิมพ์ | The Tartan |
สี | แดงคาร์เนกี ดำ เทาเหล็กกล้า เทาเหล็ก[6][7] |
ฉายา | Tartans |
เครือข่ายกีฬา | |
มาสคอต | Scotty the Scottish Terrier[9] |
เว็บไซต์ | cmu.edu |
บุคลากรจากคาร์เนกีเมลลอนได้รับรางวัลโนเบล 20 รางวัล รางวัลทัวริง 13 รางวัล รางวัลเอมมี 124 รางวัล รางวัลโทนี 47 รางวัล และรางวัลออสการ์ 10 รางวัล[11]
ผลงานโดดเด่นของบรรดาศิษย์เก่าคาร์เนกีเมลลอนได้แก่ การผลิตรถยนต์ไร้คนขับ การคิดค้นโปรแกรมจาวา และการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ หรือ เอไอ ชิ้นแรกของโลกที่เป็นจุดเริ่มต้นให้คอมพิวเตอร์คิดและแก้ไขปัญหาได้คล้ายมนุษย์จนเกิดประโยชน์ในวงการต่างๆมากมาย ทั้งในแวดวงธุรกิจ การแพทย์ และการพัฒนาสังคม เป็นต้น[12]
มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน ได้เข้ามาจัดการศึกษาในประเทศไทยร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในรูปแบบสถาบันร่วม (Joint Institute) ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL University)[13]
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ As of Dec 5, 2022. Carnegie Mellon Endowment Reaches $3.1 Billion in 2021 - News - Carnegie Mellon University (Report). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2022. สืบค้นเมื่อ January 4, 2022.
- ↑ "CMU Fact Sheet" (PDF). Carnegie Mellon University. March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ April 21, 2020. สืบค้นเมื่อ April 21, 2020.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Enrollment - Institutional Research and Analysis - Office of Institutional Effectiveness and Planning - Carnegie Mellon University". Carnegie Mellon University Institutional Research and Analysis. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2022. สืบค้นเมื่อ January 4, 2022.
- ↑ "IPEDS-Carnegie Mellon University". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 7, 2021. สืบค้นเมื่อ November 7, 2021.
- ↑ "Carnegie Mellon 2020-2021 Financial Report" (PDF). Carnegie Mellon Annual Financial Report 2021. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2022. สืบค้นเมื่อ January 4, 2022.
- ↑ "The CMU Brand - Brand Guidelines". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 3, 2021. สืบค้นเมื่อ August 3, 2021.
- ↑ "The CMU Brand - Core Colors". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 3, 2021. สืบค้นเมื่อ August 3, 2021.
- ↑ "2015–2016 Undergraduate Catalog: Department of Athletics and Physical Education". Carnegie Mellon University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 13, 2015. สืบค้นเมื่อ October 15, 2015.
- ↑ "Carnegie Mellon's Mascot". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 3, 2009. สืบค้นเมื่อ September 20, 2009.
- ↑ "Carnegie Mellon Rankings U.S. News and World Report". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-19. สืบค้นเมื่อ 2009-05-31.
- ↑ Awards - CMU - Carnegie Mellon University[ลิงก์เสีย]
- ↑ "คาร์เนกีเมลลอนจับมือสจล.เปิดม.ซีเอ็มเคแอลแห่งแรกในเอเชีย". ฐานเศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 2021-01-04.
- ↑ “CMKL” เปิดรับ น.ศ.ปี”61 มุ่งสู่มหา’ลัยนวัตกรรมระดับโลก