ภาษานาไน (อังกฤษ: Nanai) เป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวนาไนในไซบีเรีย และมีบางส่วนอยู่ในประเทศจีน มีผู้พูดทั้งหมดราว 5,772 คน จากชาวนาไนทั้งหมด 11,000 คน ผู้พูดภาษานี้โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่จะพูดภาษาจีนหรือภาษารัสเซียได้ด้วย และใช้เป็นภาษาสำหรับการติดต่อสื่อสาร

ภาษานาไน
Нанай (Nanaj)
ประเทศที่มีการพูดรัสเซียและจีน
ภูมิภาคภูมิภาคไซบีเรียและมณฑลเฮย์หลงเจียง
จำนวนผู้พูด5,772 คน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-2gld
ISO 639-3gld

การแพร่กระจาย

แก้

ในจีน ภาษานี้เรียกว่า he zhe yu ในขณะที่ชาวนาไนเรียกตัวเองว่า nanio หรือ nanai ซึ่งแปลว่าคนท้องถิ่น ผู้พูดภาษานี้กระจายตัวอยู่ในบริเวณตั้งแต่แม่น้ำอามูร์ แม่น้ำกูร์ และแม่น้ำอุสซูรีตอนกลาง ในรัสเซีย ภาษานาไนมีใช้มากในบริเวณคาบารอฟสก์ไคร ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการตีพิมพ์หนังสือด้วยภาษานาไน ข้อมูล พ.ศ. 2545 แสดงว่าผู้พูดภาษานาไนร้อยละ90 อยู่ในบริเวณนี้ อย่างไรก็ตาม การใช้ภาษานี้พบในหมู่คนรุ่นเก่าอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไปเป็นหลัก คนรุ่นใหม่นิยมใช้ภาษารัสเซียมากกว่า ภาษานี้มีการแพร่กระจายในหลายบริเวณ ได้แก่

  • สำเนียงกูร์ - อูร์มี ได้แก่บริเวณรอบๆเมืองคาบารอฟส์
  • สำเนียงอมูร์กลาง/ล่าง พบในตามแนวแม่น้ำอมูร์ที่อยู่ใต้เมืองคาบารอฟส์
  • สำเนียงบิกัน พบในตำบลโปซาร์สกีของ Primorsky Krai ใกล้กับช่วงกลางของแม่น้ำอุสซารี
  • สำเนียงซังการี บริเวณชายแดนของแม่น้ำอุสซูรีในประเทศจีน

โดยทั่วไปจะคิดว่าในรัสเซีย ภาษานาไนจะพบมากในตำบลนาไนของ Primorsky Krai เพราะมีชุมชนผู้พูดภาษานาไนที่มีกิจกรรมในด้านการตีพิมพ์หนังสือภาษานาไน และการมีสถานะปกครองตนเองของชุมชนชาวนาไน จากข้อมูลของ Stolyarov ทั่วโลก มีชุมชนชาวนาไน 11,883 คน โดยอยู่ใน Khabarovsk Krai 8, 940 คน อย่างไรก็ตาม มีผู้พูดเป็นภาษาแม่เพียง 100 - 150 คน ที่ยังอยู่ที่นั่น ข้อมูลการสำรวจใน พ.ศ. 2545 พบว่ามีประชากร 12,194 คน กล่าวอ้างว่าพูดภาษานี้ โดย 90% อยู่ใน Khabarovsk Krai 3.5% อยู่ใน Primorsky Krai 1.3 % อยู่ใน Sakhalin Oblast และอยู่ในที่อื่นๆไม่เกิน 0.5% ส่วนใหญ่พูดได้ 2 ภาษา โดยพูดภาษารัสเซียได้ด้วย

สถานะการใช้ภาษานาไนในรัสเซียพบว่าบุคคลอายุมากกว่า 40 ปีที่ใช้ภาษานี้ในชีวิตประจำวัน คนที่อายุน้อยกว่านี้นิยมใช้ภาษารัสเซียมากกว่า และจะใช้ภาษานาไนกับคนที่มีอายุมากกว่าเท่านั้น มีการสอนภาษานาไนในโรงเรียน ส่วนใหญ่อยู่ในหมูบ้านของชาวนาไนใน Khabarovsk Krai หนังสือภาษานาไน ส่วนมากเป็นนิทานพื้นบ้านและวรรณคดี หนังสือเรียนภาษานาไน จัดตามรูปแบบหนังสือเรียนภาษารัสเซีย

ในประเทศจีน มีผู้พูดภาษานาไนอย่างน้อย 2 สำเนียง จากการสำรวจเมื่อ พ.ศ. 2545 พบว่าผู้พูดภาษานาไนอายุน้อยสุด 55 ปี มากสุด 72 ปี ชาวนาไนใช้ภาษาจีนเป็นภาษาเขียน ผู้พูดภาษานี้ลดจำนวนลงเรื่อยๆ และการใช้ภาษาจำกัดเฉพาะสมาชิกในครอบครัว

ระบบการเขียน

แก้

หนังสือภาษานาไนเล่มแรกเขียนด้วยอักษรซีริลลิกตีพิมพ์โดยมิชชันนารีนิกายรัสเซียนออร์ทอดอกซ์ มีการพัฒนาระบบการเขียนภาษานาไนขึ้นใหม่โดยนักภาษาศาสตร์ชาวรัสเซียในช่วง พ.ศ. 2463 – 2473

А а Б б В в Г г Д д Е е Ё ё Ж ж
З з И и Й й К к Л л М м Н н О о
П п Р р С с Т т У у Ф ф Х х Ц ц
Ч ч Ш ш Щ щ Ъ ъ Ы ы Ь ь Э э Ю ю
Я я

ตัวอย่างข้อความจากไบเบิลภาษานาไนตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2545 [1]

Lord's Prayer (Luke 11:2-4)
ภาษานาไน (อักษรซีริลลิก) ปริวรรต ภาษาอังกฤษ
² Нёани дахамдичии уӈкини: «Кэсивэ гэлэйдуэри туй ундусу: „Боаду, уйлэ би, Эндур Ама! Гэбукуди гэрбуси бигини. Си боа яловани далачайси эрин исигини! Наду-да, боаду-да Си чихалайси бигини! ² Nǒani dahamdičii uŋkini: "Kesive geleĭdueri tuĭ undusu: 'Boadu, uĭle bi, Endur Ama! Gebukudi gerbusi bigini. Si boa ǎlovani dalačaĭsi erin isigini! Nadu-da, boadu-da Si čihalaĭsi bigini! ² He said to them, "When you pray, say: 'Father, hallowed be your name, your kingdom come, your will be done, on earth as it is in heaven.
³ Ини таондоани сиагопова эпэмбэ бунду буру. ³ Ini taondoani siagopova epembe bundu buru. ³ Give us each day our daily bread.
Буэ оркимпова гудиэсигуру, буэ-дэ оркиӈку, наӈдаку гурумбэ гудиэсиэпу, буэ мурумпувэ-дэ эди памаванда, хай-да дялимбани, оркимбани эди дял дяпаванда“». ⁴ Bue orkimpova gudiesiguru, bue-de orkiŋku, naŋdaku gurumbe gudiesiepu, bue murumpuve-de edi pamavanda, haĭ-da dǎlimbani, orkimbani edi dǎl dǎpavanda.'" ⁴ Forgive us our sins, for we also forgive everyone who sins against us. And lead us not into temptation"

อ้างอิง

แก้
  1. "Gospel of Luke in Nanai Language, 2002". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-21. สืบค้นเมื่อ 2011-04-29.

อ้างอิง

แก้
  • (จีน) An, Jun (1986). 赫哲语简志 (An Outline of the Hezhe Language). Nationalities Publishing House.
  • Lewis, M. Paul (ed.) (2009). Ethnologue: Languages of the World, 16th edition. Dallas, Texas: SIL International. สืบค้นเมื่อ 2009-07-22. {{cite book}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • (จีน) He, Xuejuan (January 2004). "街津口村赫哲语使用情况的调查 (Investigation on Hezhen language use in Jiejinkou Village)". 满语研究. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-27. สืบค้นเมื่อ 2006-12-19. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Li, Fangchao (2005-06-06). "Textbook preserves Hezhe language". China Daily. สืบค้นเมื่อ 2006-12-19.
  • (รัสเซีย) Sem, L.I. (1976). Очерки диалектов нанайского языка: бикинский (уссурийский) диалект.
  • (รัสเซีย) Stolyarov, A.V. (1994). Нанайский язык // Красная книга языков народов России: Энциклопедический словарь-справочник.
  • Nikolaeva, Irina (2001). A Grammar of Udihe. Walter de Gruyter. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • (รัสเซีย) "Информация по населенным пунктам, районам проживания и хозяйственной деятельности коренных малочисленных народов Севера и Дальнего Востока РФ". Russia: Ministry of Economic Development and Trade. 2002-01-01. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  • (รัสเซีย) "Население по национальности и владению русским языком по субъектам Российской Федерации". Федеральная служба государственной статистики. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (Microsoft Excel)เมื่อ 2006-11-04. สืบค้นเมื่อ 2006-12-01.

อ่านเพิ่มเติม

แก้

งานทั่วไป

แก้
  • (รัสเซีย) Avrorin, Valentin Aleksandrovich (1959). Грамматика нанайского языка, т.1. М. Soviet Academy of Sciences.
  • (รัสเซีย) Avrorin, Valentin Aleksandrovich (1961). Грамматика нанайского языка, т.2. М. Soviet Academy of Sciences.
  • (รัสเซีย) Putintseva, A.P. (1954). Морфология говора горинских нанай.
  • (รัสเซีย) Putintseva, A.P. (1969). О производственной лексике горинских нанай // Ученые записки ЛГПИ.
  • (รัสเซีย) Stolyarov, A.V. (1997). Нанайский язык: социолингвистическая ситуация и перспектива сохранения // Малочисленные народы Севера, Сибири и Дальнего Востока. Проблемы сохранения и развития. St. Petersburg.
  • (รัสเซีย) Sunik, O.P. (1958). Кур-урмийский диалект.
  • (เยอรมัน) Doerfer, Gerhard (1973). "Das Kur-Urmische und seine Verwandten". Zentralasiatische Studien. Wiesbaden: Otto Harrassowitz (7): 567–599.
  • (เยอรมัน) Doerfer, Gerhard (1975). "Ist Kur-Urmisch ein nanaischer Dialekt?". Ural-Altaische Jahrbücher (47): 51–63.
  • (ญี่ปุ่น) Kazama, Shinjiro (March 1994). "ナーナイ語の「一致」について (On 'agreement' in Nanay)". 北大言語学研究報告. Sapporo: Faculty of Letters, Hokkaido University (5).
  • (จีน) Zhang, Yang-chang (1989). 赫哲语 (The Hezhen Language). Changchun: Jilin University Press. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Nanai alphabet on Omniglot

หนังสือภาษานาไน

แก้
  • (รัสเซีย) Avrorin, Valentin Aleksandrovich (1986). Материалы по нанайскому языку и фольклору.
  • (รัสเซีย) Нанайский фольклор: Нингман, сиохор, тэлунгу. Новосибирск. 1996.
  • (รัสเซีย) Samar, E. (1992). Манга покто/Трудные тропы. Khabarovsk.
  • (รัสเซีย) Samar, E. (2000). Кондонкан даламдини/Кондонский староста. Khabarovsk.
  • (รัสเซีย) Passar, A. (2002). Ми урэхэмби нингмансал/Сказки моего детства (Fairy Tales of my Childhood). Khabarovsk.
  • (รัสเซีย) Khodzher, A. (2000). Михорангоари/Поклонение природе. Khabarovsk.
  • (รัสเซีย) Marshak, S.Y. (1990). Двенадцать месяцев/Дёан дюэр биа. Khaborovsk. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • (รัสเซีย) Bel'dy, G. (1980). На найни: Стихи. Khabarovsk.
  • (ญี่ปุ่น) Kazama, Shinjiro (1993). "ナーナイ語テキスト (Nanay Texts)". Publications on Tungus Languages and Cultures. Otaru, Japan: Center for Language Studies, Otaru University of Commerce (4).
  • (ญี่ปุ่น) Kazama, Shinjiro (1996). "ナーナイの民話と伝説2 (Nanay Folk Tales and Legends 2)". Publications on Tungus Languages and Cultures. Tottori, Japan: Faculty of Education, Tottori University (8).
  • (ญี่ปุ่น) Kazama, Shinjiro (1997). "ナーナイの民話と伝説3 (Nanay Folk Tales and Legends 3)". Publications on Tungus Languages and Cultures. Tokyo, Japan: Tokyo University of Foreign Studies (10).
  • (ญี่ปุ่น) Kazama, Shinjiro (1998). "ナーナイの民話と伝説4 (Nanay Folk Tales and Legends 4)". Publications on Tungus Languages and Cultures. China, Japan: Chiba University (12).

พจนานุกรม

แก้
  • (รัสเซีย) Onenko, S.N. (1959). Русско-нанайский словарь (свыше 8 000 слов).
  • (รัสเซีย) Petrova, T.I. (1960). Нанайско-русский словарь (около 8 000 слов).
  • (รัสเซีย) Onenko, S.N. (1982). Нанайско-русский и русско-нанайский словарь: пособие для учащихся средней школы (более 3 600 слов).
  • (รัสเซีย) Onenko, S.N. (1989). Словарь нанайско-русский и русско-нанайский: пособие для учащихся средней школы (около 4 000 слов).
  • (รัสเซีย) Onenko, S.N. (1986). Лоца-Наанай Хэсэhкуни/Русско-нанайский словарь (около 5 000 слов).
  • (รัสเซีย) Onenko, S.N. (1980). Нанай-Лоча Хэсэhкуни/Нанайско-русский словарь (12 800 слов).
  • (รัสเซีย) Kile, A.S. (1999). Нанайско-русский тематический словарь (духовная культура). Khabarovsk.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้