ภาษานาวัตล์ (nāhuatl) เป็นภาษาในกลุ่มภาษายูโต-อัสเตกัน มีผู้พูดประมาณ 1.7 ล้านคนในตอนกลางของประเทศเม็กซิโก โดยเริ่มมีการพูดตั้งแต่ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 7[3]

Nahuatl
Aztec, Mexicano of Huejutla de Reyes.
Nāhuatl, Nāhuatlahtōlli, Mēxihcatlahtōlli, Mācēhuallahtōlli, Mēxihcacopa
Nahua man from the Florentine Codex. The speech scrolls indicate speech or song.
ประเทศที่มีการพูดMexico
ภูมิภาคState of Mexico, Puebla, San Luis Potosi, Veracruz, Hidalgo, Guerrero, Morelos, Tlaxcala, Oaxaca, Michoacán, Chihuahua, Durango,
and immigrants in United States, El Salvador, Guatemala, and Canada
ชาติพันธุ์Nahua peoples
จำนวนผู้พูด1,740,000  (2010)
ตระกูลภาษา
รูปแบบก่อนหน้า
Proto-Nahuan
  • Nahuatl
ภาษาถิ่น
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการMexico (through the General Law of Linguistic Rights of Indigenous Peoples)[1]
ผู้วางระเบียบInstituto Nacional de Lenguas Indígenas[2]
รหัสภาษา
ISO 639-2nah
ISO 639-3nci Classical Nahuatl
For modern varieties, see Nahuan languages
Pre-contact (green) and current (red) extent of Nahuatl as a dominant language in Mexico
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

มีหลายคำในภาษาอังกฤษที่มีต้นกำเนิดมาจากภาษานาวัตล์ เช่น "avocado", "chayote", "chili", "chocolate", "atlatl", "coyote", "peyote", "axolotl" และ "tomato"

อ้างอิง แก้

  1. "General Law of Linguistic Rights of Indigenous Peoples" (PDF) (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 11 June 2008.
  2. "Instituto Nacional de Lenguas Indígenas homepage".
  3. Suárez (1983:149)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้