กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996

แม่แบบ:ฟุตบอลโอลิมปิกฤดูร้อน1996

ฟุตบอล
ในโอลิมปิกครั้งที่ 26
สนามแอตแลนตา  สหรัฐ
วันที่20 กรกฎาคม - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2539
จำนวนรายการ2
จำนวนนักกีฬา387  คน จาก 21 ประเทศ
← 1992
2000 →

การแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 เป็นการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 26 ที่เมืองแอตแลนตา ประเทศสหรัฐ ระหว่างวันที่ 20 กรกฎาคม - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2539 จัดขึ้นที่สนาม ซึ่งการแข่งขันกีฬาฟุตบอลครั้งนี้มีการแข่งขันทั้งหมด 2 รายการ คือ ประเภททีมชาย 1 รายการ และประเภททีมหญิง 1 รายการ โดยมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขัน 387 คน จาก 21 ประเทศ

ปฏิทินการแข่งขัน แก้

การคัดเลือก แก้

การคัดเลือก จำนวนทีม ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
เจ้าภาพ 1  สหรัฐ
AFC Preliminary Competition 3  เกาหลีใต้ (winner)
 ญี่ปุ่น (runner-up)
 ซาอุดีอาระเบีย (third-place)
CAF Preliminary Competition 3  กานา
 ตูนิเซีย
 ไนจีเรีย
CONCACAF Preliminary Competition 1  เม็กซิโก (winner)
1996 CONMEBOL Pre-Olympic Tournament 2  บราซิล (winner)
 อาร์เจนตินา (runner-up)
OFC Preliminary Competition 1  ออสเตรเลีย
1996 UEFA European Under-21 Football Championship 5  อิตาลี (winner)
 สเปน (runner-up)
 ฝรั่งเศส (third-place)
 ฮังการี (5th)
 โปรตุเกส (6th)
รวม 16

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน แก้

สรุปเหรียญรางวัล แก้

ตารางสรุปเหรียญ แก้

ผู้ที่ได้รับเหรียญรางวัล แก้

ทีมชาย แก้

รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ทีมชาย สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย ไนจีเรีย (NGR)
Emmanuel Babayaro
Celestine Babayaro
Taribo West
Nwankwo Kanu
Uche Okechukwu
Emmanuel Amuneke
Tijani Babangida
Wilson Oruma
Teslim Fatusi
Jay-Jay Okocha
Victor Ikpeba
Abiodun Obafemi
Garba Lawal
Daniel Amokachi
Sunday Oliseh
Kingsley Obiekwu
Mobi Oparaku
Dosu Joseph
ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (ARG)
Carlos Bossio
Roberto Ayala
José Chamot
Javier Zanetti
Matías Almeyda
Roberto Sensini
Claudio López
Diego Simeone
Hernán Crespo
Ariel Ortega
Hugo Morales
Pablo Cavallero
Héctor Pineda
Pablo Paz
Christian Bassedas
Gustavo López
Marcelo Delgado
Marcelo Gallardo
ประเทศบราซิล บราซิล (BRA)
Dida
Zé María
Aldair
Ronaldo Guiaro
Flávio Conceição
Roberto Carlos
Bebeto
Amaral
Ronaldo
Rivaldo
Sávio
Danrlei
Narciso
André Luiz
Zé Elias
Marcelinho
Luizão
Juninho

ทีมหญิง แก้

รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ทีมหญิง สหรัฐ สหรัฐ (USA)
Briana Scurry
Mary Harvey
Cindy Parlow
Carla Overbeck
Tiffany Roberts
Brandi Chastain
Staci Wilson
Shannon MacMillan
Mia Hamm
Michelle Akers
Julie Foudy
Carin Gabarra
Kristine Lilly
Joy Fawcett
Tisha Venturini
Tiffeny Milbrett
Amanda Cromwell
Thori Staples Bryan
Saskia Webber
สาธารณรัฐประชาชนจีน จีน (CHN)
Zhong Honglian
Wang Liping
Fan Yunjie
Yu Hongqi
Xie Huilin
Zhao Lihong
Wei Haiying
Shui Qingxia
Sun Wen
Liu Ailing
Sun Qingmei
Wen Lirong
Liu Ying
Chen Yufeng
Shi Guihong
Gao Hong
Zhang Yan
Niu Lijie
ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR)
Bente Nordby
Agnete Carlsen
Gro Espeseth
Nina Nymark Andersen
Merete Myklebust
Hege Riise
Anne Nymark Andersen
Heidi Støre
Marianne Pettersen
Linda Medalen
Brit Sandaune
Reidun Seth
Tina Svensson
Tone Haugen
Trine Tangeraas
Ann Kristin Aarønes
Tone Gunn Frustøl
Kjersti Thun
Ingrid Sternhoff

ผลการแข่งขัน แก้

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
กรกฎาคม 27 - Miami        
   Portugal (asdet)  2
กรกฎาคม 30 - Athens, Georgia
   ฝรั่งเศส  1  
   Portugal  0
กรกฎาคม 27 - Birmingham
       อาร์เจนตินา  2  
   อาร์เจนตินา  4
สิงหาคม 3 - Athens
   สเปน  0  
   อาร์เจนตินา  2
กรกฎาคม 28 - Birmingham    
     ไนจีเรีย  3
   เม็กซิโก  0
กรกฎาคม 31 - Athens, Georgia
   ไนจีเรีย  2  
   ไนจีเรีย (asdet)  4 Bronze medal match
กรกฎาคม 28 - Miami
       บราซิล  3   สิงหาคม 2 - Athens
   บราซิล  4
   Portugal  0
   กานา  2  
   บราซิล  5
 


อันดับการแข่งขัน แก้

ลำดับ ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
1   ไนจีเรีย (NGR) 6 5 0 1 12 6 +6 15
2   อาร์เจนตินา (ARG) 6 3 2 1 13 6 +7 11
3   บราซิล (BRA) 6 4 0 2 16 8 +8 12
4   โปรตุเกส (POR) 6 2 2 2 6 10 –4 9
5   ฝรั่งเศส (FRA) 4 2 1 1 6 4 +2 7
6   สเปน (ESP) 4 2 1 1 5 7 -2 7
7   เม็กซิโก (MEX) 4 1 2 1 2 3 -1 5
8   กานา (GHA) 4 1 1 2 6 8 –2 4
9   ญี่ปุ่น (JPN) 3 2 0 1 4 4 0 6
10   สหรัฐ (USA) 3 1 1 1 4 4 0 4
11   เกาหลีใต้ (KOR) 3 1 1 1 2 2 0 4
12   อิตาลี (ITA) 3 1 0 2 4 5 −1 3
13   ออสเตรเลีย (AUS) 3 1 0 2 4 6 −2 3
14   ตูนิเซีย (TUN) 3 0 1 2 1 5 –4 1
15   ซาอุดีอาระเบีย (KSA) 3 0 0 3 2 5 –3 0
16   ฮังการี (HUN) 3 0 0 3 3 7 –4 0

อ้างอิง แก้