ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 2

รอบที่ 2 ของ ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา (ซีเอเอฟ) จะแข่งขันระหว่างวันที่ 11-17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558[1]

รูปแบบการแข่งขัน แก้

รอบนี้จะมีทั้งหมด 40 ทีม (ทีมอันดับที่ 1–27 ของทวีป และอีก 13 ทีมจากรอบแรก) ประกบแข่งขันกันแบบสองนัด เหย้า-เยือน ทีมชนะทั้งหมด 20 ทีม จะผ่านเข้าสู่ รอบที่ 3 ซึ่งเป็นรอบแบ่งกลุ่ม

การจัดอันดับ แก้

การจับสลากประกบคู่แข่งขันรอบที่ 2 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ในเวลา 18:00 น. (UTC+3) ที่พระราชวังคอนสแตนตินอฟกี เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย[2][3][4]

การจัดอันดับทีม อยู่บนฐานของอันดับโลกฟีฟ่า ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 (แสดงในวงเล็บ)[5] ทีมทั้งหมด 27 ทีม ที่ผ่านเข้าสู่รอบที่ 2 โดยอัตโนมัติ (ไม่ต้องแข่งรอบแรก) จะแบ่งเป็น 3 โถ ดังนี้

  • โถ 1 ประกอบด้วยทีมอันดับที่ 1–13 ของทวีป
  • โถ 2 ประกอบด้วยทีมอันดับที่ 14–20 ของทวีป
  • โถ 3 ประกอบด้วยทีมอันดับที่ 21–27 ของทวีป

ทีมจากโถ 1 จะประกบแข่งขันกับทีมชนะจากรอบแรก (13 คู่) และทีมจากโถ 2 จะประกบแข่งขันกับทีมจากโถ 3 (7 คู่) โดยทีมจากโถ 1 และ 2 จะเป็นเจ้าบ้านในนัดที่สอง

หมายเหตุ: ตัวหนา หมายถึง ทีมที่ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 3

โถ 1 ทีมชนะจาก รอบแรก
  1.   แอลจีเรีย (19)
  2.   โกตดิวัวร์ (21)
  3.   กานา (25)
  4.   ตูนิเซีย (32)
  5.   เซเนกัล (39)
  6.   แคเมอรูน (42)
  7.   สาธารณรัฐคองโก (47)
  8.   กาบูเวร์ดี (52)
  9.   อียิปต์ (55)
  10.   ไนจีเรีย (57)
  11.   กินี (58)
  12.   สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (60)
  13.   มาลี (61)
  1.   ไนเจอร์ (96)
  2.   เอธิโอเปีย (101)
  3.   นามิเบีย (114)
  4.   เคนยา (116)
  5.   บอตสวานา (120)
  6.   มาดากัสการ์ (122)
  7.   มอริเตเนีย (128)
  8.   บุรุนดี (131)
  9.   เอสวาตินี (138)
  10.   แทนซาเนีย (139)
  11.   ไลบีเรีย (161)
  12.   ชาด (173)
  13.   คอโมโรส (187)
โถ 2 โถ 3
  1.   อิเควทอเรียลกินี (63)
  2.   กาบอง (65)
  3.   แอฟริกาใต้ (70)
  4.   แซมเบีย (71)
  5.   บูร์กินาฟาโซ (72)
  6.   ยูกันดา (73)
  7.   รวันดา (78)
  1.   โตโก (83)
  2.   โมร็อกโก (84)
  3.   ซูดาน (90)
  4.   แองโกลา (92)
  5.   โมซัมบิก (95)
  6.   เบนิน (96)
  7.   ลิเบีย (96)

การแข่งขัน แก้

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ไนเจอร์   0–3   แคเมอรูน 0–3 0–0
มอริเตเนีย   2–4   ตูนิเซีย 1–2 1–2
นามิเบีย   0–3   กินี 0–1 0–2
เอธิโอเปีย   4–6   สาธารณรัฐคองโก 3–4 1–2
ชาด   1–4   อียิปต์ 1–0 0–4
คอโมโรส   0–2   กานา 0–0 0–2
เอสวาตินี   0–2   ไนจีเรีย 0–0 0–2
บอตสวานา   2–3   มาลี 2–1 0–2
บุรุนดี   2–6   สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 2–3 0–3[note 1]
ไลบีเรีย   0–4   โกตดิวัวร์ 0–1 0–3
มาดากัสการ์   2–5   เซเนกัล 2–2 0–3
เคนยา   1–2   กาบูเวร์ดี 1–0 0–2
แทนซาเนีย   2–9   แอลจีเรีย 2–2 0–7
ซูดาน   0–3   แซมเบีย 0–1 0–2
ลิเบีย   4–1   รวันดา 1–0 3–1
โมร็อกโก   2–1   อิเควทอเรียลกินี 2–0 0–1
โมซัมบิก   1–1 (3–4 p)   กาบอง 1–0 0–1
(ต่อเวลา)
เบนิน   2–3   บูร์กินาฟาโซ 2–1 0–2
โตโก   0–4   ยูกันดา 0–1 0–3
แองโกลา   1–4   แอฟริกาใต้ 1–3 0–1

แคเมอรูน ชนะด้วยประตูรวม 3–0 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


ตูนิเซีย ชนะด้วยประตูรวม 4–2 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


กินี ชนะด้วยประตูรวม 3–0 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


คองโก ชนะด้วยประตูรวม 6–4 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


อียิปต์ ชนะด้วยประตูรวม 4–1 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


กานา ชนะด้วยประตูรวม 2–0 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


ไนจีเรีย ชนะด้วยประตูรวม 2–0 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


มาลี ชนะด้วยประตูรวม 3–2 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ชนะด้วยประตูรวม 6–2 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


โกตดิวัวร์ ชนะด้วยประตูรวม 4–0 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


เซเนกัล ชนะด้วยประตูรวม 5–2 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


เคปเวิร์ด ชนะด้วยประตูรวม 2–1 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


แอลจีเรีย ชนะด้วยประตูรวม 9–2 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


แซมเบีย ชนะด้วยประตูรวม 3–0 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


ลิเบีย ชนะด้วยประตูรวม 4–1 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


โมร็อกโก ชนะด้วยประตูรวม 2–1 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


กาบอง ชนะด้วยการยิงลูกโทษ 4–3 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


บูร์กินาฟาโซ ชนะด้วยประตูรวม 3–2 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


ยูกันดา ชนะด้วยประตูรวม 4–0 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3


แอฟริกาใต้ ชนะด้วยประตูรวม 4–1 และได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่ 3

อันดับดาวซัลโว แก้

มี 97 ประตูเกิดขึ้นใน 40 นัด ค่าเฉลี่ย 2.43 ประตูต่อ 1 นัด

4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
การทำเข้าประตูตัวเอง

หมายเหตุ แก้

  1. 1.0 1.1 FIFA awarded Congo DR a 3–0 win as a result of Burundi fielding the ineligible player Gaël Bigirimana.[6] The match originally ended 2–2.
  2. กินีจะลงเล่นในบ้านของพวกเขาที่ประเทศโมร็อกโก เนื่องจากการระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก
  3. ลิเบียจะลงเล่นในบ้านของพวกเขาที่ประเทศตูนิเซีย เนื่องจากสงครามกลางเมืองลิเบีย

อ้างอิง แก้

  1. "CAF Calendar - CAF Calendar of Events and Meetings 2015". cafonline.com. สืบค้นเมื่อ 9 July 2015.
  2. "FIFA World Cup Russia 2018: Procedure for the preliminary draw". CAF. 21 July 2015.
  3. "Draw Procedures – African Zone" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-12. สืบค้นเมื่อ 2016-04-12.
  4. "Results of FIFA World Cup Russia 2018 Preliminary Draw". CAF. 25 July 2015.
  5. "FIFA/Coca-Cola World Ranking – July 2015 (CAF)". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 July 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 9 July 2015.
  6. "DISCIPLINARY OVERVIEW – 2018 FIFA WORLD CUP RUSSIA™ QUALIFIERS" (PDF). FIFA. 1 February 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-02-05. สืบค้นเมื่อ 2016-04-12.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้