ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022

ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022 เป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงของทีมชาติในสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ครั้งที่ 20 เพื่อชิงชนะเลิศในระดับทวีปเอเชีย

ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ อินเดีย
วันที่20 มกราคม – 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
ทีม12 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติจีน จีน (สมัยที่ 9)
รองชนะเลิศธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน25
จำนวนประตู104 (4.16 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม(0 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดออสเตรเลีย Sam Kerr
(7 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมจีน Wang Shanshan[1]
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมจีน Zhu Yu[2]
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
2018
2026

รอบคัดเลือก แก้

รอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022 จัดขึ้นตั้งแต่เดือนกันยายนและเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564[3]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

ทีม ได้ผ่านเข้ารอบในฐานะ วันที่
ผ่านเข้ารอบ
ผ่านเข้ารอบครั้งที่ ผลงานครั้งล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุด อันดับโลกฟีฟ่า
เมื่อเริ่มต้นการแข่งขัน
  อินเดีย เจ้าภาพ 5 มิถุนายน 2563 9 2003 รองชนะเลิศ (1979, 1983) 57
  ญี่ปุ่น ชนะเลิศ 2018 28 มกราคม 2564 17 2018 ชนะเลิศ (2014, 2018) 13
  ออสเตรเลีย รองชนะเลิศ 2018 28 มกราคม 2564 6 2018 ชนะเลิศ (2010) 11
  จีน อันดับที่ 3 2018 28 มกราคม 2564 15 2018 ชนะเลิศ (1986, 1989, 1991, 1993, 1995, 1997, 1999, 2006) 17
  จีนไทเป ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 24 ตุลาคม 2564 อันดับที่ 14 2008 ชนะเลิศ (1977, 1979, 1981) 40
  เวียดนาม ชนะเลิศ กลุ่ม บี 29 กันยายน 2564 9 2018 อันดับที่ 6 (2014) 32
  อินโดนีเซีย ชนะเลิศ กลุ่ม ซี 27 กันยายน 2564 5 1989 อันดับที่ 4 (1977, 1986) 96
  พม่า ชนะเลิศ กลุ่ม ดี 24 ตุลาคม 2564 5 2014 รอบแบ่งกลุ่ม (2003, 2006, 2010, 2014) 46
  เกาหลีใต้ ชนะเลิศ กลุ่ม อี 23 กันยายน 2564 13 2018 อันดับที่ 3 (2003) 18
  ฟิลิปปินส์ ชนะเลิศ กลุ่ม เอฟ 24 กันยายน 2564 10 2018 อันดับที่ 6 (2018) 68
  อิหร่าน ชนะเลิศ กลุ่ม จี 25 กันยายน 2564 1 N/A ครั้งแรก 72
  ไทย ชนะเลิศ กลุ่ม เอช 25 กันยายน 2564 17 2018 ชนะเลิศ (1983) 39

สนามแข่งขัน แก้

การแข่งขันจะลงเล่นในสามสนามในสามเมืองของ ประเทศอินเดีย.[4]

มหาราษฏระ มุมไบ นาวี มุมไบ ปูเณ
มุมไบฟุตบอลอารีนา สนามกีฬาดี. วาย. ปาฏีล ศรีศิวฉัตรปตีสปอตส์คอมเพล็กซ์
ความจุ: 18,000 ความจุ: 37,900 ความจุ: 11,900
     

ผู้เล่น แก้

แต่ละทีมจะต้องลงทะเบียนผู้เล่นอย่างน้อย 18 คนและไม่เกิน 23 คน โดยอย่างน้อยสามคนต้องเป็นผู้รักษาประตู (บทความข้อบังคับที่ 26.3)

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มและทีมอันดับสามที่ดีที่สุดสองทีม จะได้ผ่านเข้ารอบสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ.[5]

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น,IST (UTC+05:30).

ตารางการแข่งขัน
นัดที่ วันที่ การประกบคู่ในแต่ละนัด
นัดที่ 1 20–22 มกราคม พ.ศ. 2565 1 v 4, 2 v 3
นัดที่ 2 23–25 มกราคม พ.ศ. 2565 4 v 2, 3 v 1
นัดที่ 3 26–28 มกราคม พ.ศ. 2565 1 v 2, 3 v 4

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   จีน 2 2 0 0 11 0 +11 6 รอบแพ้คัดออก
2   จีนไทเป 2 1 0 1 5 4 +1 3
3   อิหร่าน 2 0 0 2 0 12 −12 0
4   อินเดีย (H) 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนทีม[a]
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. อินเดียผิดพลาดในการส่งรายชื่อผู้เล่นที่ต้องการถึง 13 ราย และไม่สามารถลงทำการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม ในนัดที่พบกับ จีนไทเป เนื่องจากว่าพวกเขามีผู้เล่นเหลือน้อยกว่า 13 คนและสมาชิกในทีมที่เหลือก็มีผลตรวจเป็นบวก โควิด-19. พวกเขาถือได้ว่าถอนตัวออกจากการแข่งขันทันที, และนัดก่อนหน้าที่เล่นโดยพวกเขาทั้งหมดจะได้รับการพิจารณาว่าเป็น "โมฆะ" และจะไม่นำมาพิจารณาในการตัดสินอันดับในตารางคะแนนสุดท้าย.[6]



อิหร่าน  0–7  จีน
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ตัดสิน: พรรษา ชัยสนิท (ไทย)

กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ออสเตรเลีย 3 3 0 0 24 1 +23 9 รอบแพ้คัดออก
2   ฟิลิปปินส์ 3 2 0 1 7 4 +3 6
3   ไทย 3 1 0 2 5 3 +2 3
4   อินโดนีเซีย 3 0 0 3 0 28 −28 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


ออสเตรเลีย  18–0  อินโดนีเซีย
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: Mahsa Ghorbani (อิหร่าน)


กลุ่ม ซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น 3 2 1 0 9 1 +8 7 รอบแพ้คัดออก
2   เกาหลีใต้ 3 2 1 0 6 1 +5 7
3   เวียดนาม 3 0 1 2 2 8 −6 1
4   พม่า 3 0 1 2 2 9 −7 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม




ตารางคะแนนของทีมอันดับสาม แก้

สองทีมที่ดีที่สุดจะได้ผ่านสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ.

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 บี   ไทย 3 1 0 2 5 3 +2 3 รอบแพ้คัดออก
2 ซี   เวียดนาม 3 0 1 2 2 8 −6 1
3 เอ   อิหร่าน 2 0 0 2 0 12 −12 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้; 4) คะแนนทางวินัย; 5) จำนวนนัดที่เสมอ.

รอบแพ้คัดออก แก้

สายการแข่งขัน แก้

ผู้แพ้ของแมตช์รอบก่อนรองชนะเลิศจะเข้าสู่รอบตัดเชือก, รูปแบบจะขึ้นอยู่กับผลการแข่งขันของ ออสเตรเลีย ในการแข่งขัน.[7]

 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
30 มกราคม – ดีวาย ปาฏีล
 
 
  จีน 3
 
3 กุมภาพันธ์ – ศรีศิวฉัตรปตี
 
  เวียดนาม 1
 
  จีน
(ลูกโทษ)
2 (4)
 
30 มกราคม – ดีวาย ปาฏีล
 
  ญี่ปุ่น 2 (3)
 
  ญี่ปุ่น 7
 
6 กุมภาพันธ์ – ดีวาย ปาฏีล
 
  ไทย 0
 
  จีน 3
 
30 มกราคม – ศรีศิวฉัตรปตี
 
  เกาหลีใต้ 2
 
  ออสเตรเลีย 0
 
3 กุมภาพันธ์ – ศรีศิวฉัตรปตี
 
  เกาหลีใต้ 1
 
  เกาหลีใต้ 2
 
30 มกราคม – ศรีศิวฉัตรปตี
 
  ฟิลิปปินส์ 0
 
  จีนไทเป 1 (3)
 
 
  ฟิลิปปินส์
(ลูกโทษ)
1 (4)
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

ผู้ชนะจะได้ผ่านเข้าสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิง. ผู้แพ้จะเข้าสู่เพลย์ออฟรอบตัดเชือก.




รอบรองชนะเลิศ แก้


รอบชิงชนะเลิศ แก้

รางวัล แก้

รางวัลด้านล่างนี้มอบให้หลังสิ้นสุดการแข่งขัน:

ผู้เล่นทรงคุณค่า ดาวซัลโวสูงสุด ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม รางวัลแฟร์เพลย์
  Wang Shanshan   Sam Kerr (7 ประตู)   Zhu Yu   เกาหลีใต้

รอบเพลย์ออฟ แก้

รูปแบบรอบเพลย์ออฟขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของออสเตรเลีย, ผู้ที่ได้เข้ารอบอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ.[8] นับตั้งแต่ออสเตรเลียตกรอบในรอบก่อนรองชนะเลิศ, รูปแบบของรอบเพลย์ออฟจะเป็นทีมที่เหลือสามทีมที่แพ้ในรอบก่อนรองชนะเลิศจะต้องลงเล่นในรอบเพลย์ออฟรอบเดียว. โดยที่ผู้ชนะที่ดีที่สุดหลังสามนัด จะผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลก และอีกสองทีมที่เหลือจะเข้าสู่รอบเพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์.


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เวียดนาม 2 2 0 0 4 1 +3 6 ผ่านเข้าสู่สำหรับ ฟุตบอลโลกหญิง 2023
2   จีนไทเป 2 1 0 1 4 2 +2 3 เข้าสู่ เพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์
3   ไทย 2 0 0 2 0 5 −5 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


สถิติ แก้

อันดับดาวซัลโว แก้

มีการทำประตู 104 ประตู จากการแข่งขัน 25 นัด เฉลี่ย 4.16 ประตูต่อนัด


การทำประตู 7 ครั้ง

การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกหญิง แก้

ด้านล่างนี้คือห้าทีมที่มาจากเอเอฟซีที่จะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกหญิง 2023, นอกเหนือจากเจ้าภาพร่วมของออสเตรเลียซึ่งผ่านการรับรองโดยอัตโนมัติ, ขณะที่ทั้งสองทีมจะเข้าสู่รอบเพลย์ออฟระหว่างสหพันธ์. ช่องสำหรับออสเตรเลียถูกนำมาโดยตรงจากโควตาที่จัดสรรให้กับเอเอฟซี.[9]

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ การลงสนามในนามทีมชาติครั้งที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์1
  ออสเตรเลีย 25 มิถุนายน 2563 7 (19951, 19991, 20031, 2007, 2011, 2015, 2019)
  ญี่ปุ่น 30 มกราคม 2565 8 (1991, 1995, 1999, 2003, 2007, 2011, 2015, 2019)
  เกาหลีใต้ 30 มกราคม 2565 3 (2003, 2015, 2019)
  จีน 30 มกราคม 2565 7 (1991, 1995, 1999, 2003, 2007, 2015, 2019)
  ฟิลิปปินส์ 30 มกราคม 2565 0 (ครั้งแรก)
  เวียดนาม 6 กุมภาพันธ์ 2022 0 (ครั้งแรก)
1 ออสเตรเลียมีคุณสมบัติเป็นสมาชิกของ โอเอฟซี ในปี 1995, 1999 และ 2003.

อ้างอิง แก้

  1. "China PR's Wang Shanshan named AFC Women's Asian Cup India 2022™ MVP". AFC. 6 February 2022.
  2. "China PR's Zhu Yu picked as Best Goalkeeper of AFC Women's Asian Cup India 2022™". AFC. 6 February 2022.
  3. "AFC Competitions Calendar 2021". AFC.
  4. "Three top venues for AFC Women's Asian Cup India 2022 confirmed". AFC. 26 March 2021. สืบค้นเมื่อ 26 March 2021.
  5. "AFC Women's Asian Cup to be held from January 20 to February 6, 2022". Sportstar. 28 January 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-11-04. สืบค้นเมื่อ 2021-10-31.
  6. "Latest update on the AFC Women's Asian Cup India 2022™". Asian Football Confederation. 23 January 2022.
  7. "AFC announces the competition format of Women's Asian Cup India 2022". Vietnam Football Federation. October 26, 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. "AFC announces the competition format of Women's Asian Cup India 2022". Vietnam Football Federation. 26 October 2021. สืบค้นเมื่อ 30 January 2022.
  9. "Update on FIFA Women's World Cup and men's youth competitions". FIFA. 24 December 2020. สืบค้นเมื่อ 28 December 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้