ฟุตบอลทีมชาติมาลายา

ฟุตบอลทีมชาติมาลายา เป็นทีมชาติของสหพันธรัฐมาลายา โดยดำเนินการจนกระทั่ง ค.ศ. 1962 และแทนที่ด้วยฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียนับตั้งแต่การแข่งขันเมอร์เดกา 1963[3]

มาลายา
to 1948–1962
Shirt badge/Association crest
ฉายาHarimau Malaya (เสือโคร่งมลายู)
สมาคมสมาคมฟุตบอลมาลายา (FAM)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
ทำประตูสูงสุดอับดุล ฆานี มินฮัต (58)[1]
สนามเหย้าสนามกีฬาเมอร์เดกา กัวลาลัมเปอร์
รหัสฟีฟ่าMAL
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
[[Image:{{{flag alias-colonial}}}|22x20px|border |ธงชาติสิงคโปร์]] สิงคโปร์ 4–2 มาลายา ธงชาติสหพันธรัฐมาลายา
(สิงคโปร์; 20 มิถุนายน ค.ศ. 1948)[2]
ชนะสูงสุด
ธงชาติสหพันธรัฐมาลายา มาลายา 15–1 ฟิลิปปินส์ ธงชาติฟิลิปปินส์
(จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย; 26 สิงหาคม ค.ศ. 1962)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเวียดนามใต้ เวียดนามใต้ 6–1 มาลายา ธงชาติสหพันธรัฐมาลายา
(โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น; 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1958)
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 5–0 มาลายา ธงชาติสหพันธรัฐมาลายา
(จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย; 20 เมษายน ค.ศ. 1960)
ธงชาติสหพันธรัฐมาลายา มาลายา 0–5 เวียดนามใต้ ธงชาติเวียดนามใต้
(กัวลาลัมเปอร์ มาลายา; 11 สิงหาคม ค.ศ. 1963)

บันทึกสถิติ แก้

ฟุตบอลโลก แก้

สถิติฟุตบอลโลก สถิติการเข้ารอบ
ฟุตบอลโลก
ปี ผล อันดับ Pld W D L GF GA Pld W D L GF GA
  1930 ถึง   1962 ไม่ได้เข้าร่วม ไม่ได้เข้าร่วม
รวม 0/0

กีฬาโอลิมปิก แก้

เอเชียนคัพ แก้

สถิติเอเชียนคัพ สถิติเข้ารอบ
ปี รอบ อันดับ Pld W D L GF GA Pld W D L GF GA
  1956 ไม่ผ่านเข้ารอบ 4 1 1 2 14 12
  1960 2 1 0 1 5 3
รวม 0/0 6 2 1 3 19 15

เอเชียนเกมส์ แก้

สถิติเอเชียนเกมส์
ปี รอบ อันดับ GP W D L GS GA
  1951 ไม่ได้เข้าร่วม
  1954
  1958 รอบแบ่งกลุ่ม 12/14 3 0 0 3 2 8
  1962 อันดับที่ 3 3/8 5 3 0 2 23 9
รวม ผลการแข่งขันที่ดีที่สุด: อันดับที่ 3 2/2 8 3 0 5 25 17

ซีเกมส์ แก้

สถิติ แก้

ผู้ทำประตูมากที่สุด[4]
# ผู้เล่น ประตู ช่วงที่แข่ง
1 อับดุล ฆานี มินฮัต 58 1956–1962
2 Robert Choe 20 1958–1962
3 Arthur Koh 14 1958–1962
4 สแตนลีย์ เกเบรียลล์ 11 1959–1964
5 ราฮิม โอมาร์ 11 1957–1962

อ้างอิง แก้

  1. Mamrud, Roberto (30 March 2021). "Abdul Ghani Minhat – Goals in International Matches". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 June 2021. สืบค้นเมื่อ 30 March 2021.
  2. "Malaysia matches, ratings and points exchanged". World Football Elo Ratings: Malaysia. สืบค้นเมื่อ 25 November 2016.
  3. It's Malaysia in M-tourney and after say SAFA - The Straits Times, 15 June 1963.
  4. Mamrud, Roberto. "Malaysia - Record International Players". RSSSF.