ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียใต้

ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียใต้ หรือ เอสเอเอฟเอฟ แชมเปียนชิป, หรือตามชื่อผู้สนับสนุน เอสเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ , เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายทีมชาติในกลุ่มประเทศในทวีปเอเชียทางตอนใต้ อยู่ภายใต้การดูแลของ สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียใต้ แข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1993 (โดยใช้ชื่อ เอสเอเอฟเอฟ โกลด์คัพ) มีทีมแข่งขันทั้งสิ้น 8 ทีม

เอสเอเอฟเอฟ ซูซูกิคัพ
ก่อตั้ง1993; 31 ปีที่แล้ว (1993) ในชื่อ SAARC Gold Cup
ภูมิภาคเอสเอเอฟเอฟ
จำนวนทีม
7
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติอินเดีย อินเดีย (สมัยที่ 8)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติอินเดีย อินเดีย (8 สมัย)
เว็บไซต์www.saffsuzukicup.org/2018/index.html/
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียใต้ 2023

ผลการแข่งขัน

แก้
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่ 3
ชนะเลิศ ผล รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผล อันดับที่ 4
1993
Details
 
ปากีสถาน
 
อินเดีย
[note 1]  
ศรีลังกา
 
เนปาล
[note 1]  
ปากีสถาน
1995
Details
 
ศรีลังกา
 
ศรีลังกา
1 – 0  
อินเดีย
 
บังกลาเทศ
[note 1]  
เนปาล
1997
Details
 
เนปาล
 
อินเดีย
5 – 1  
มัลดีฟส์
 
ปากีสถาน
1 – 0  
ศรีลังกา
1999
Details
 
อินเดีย
 
อินเดีย
2 – 0  
บังกลาเทศ
 
มัลดีฟส์
2 – 0  
เนปาล
2003
Details
 
บังกลาเทศ
 
บังกลาเทศ
1 – 1
(5 – 3 pen.)
 
มัลดีฟส์
 
อินเดีย
2 – 1  
ปากีสถาน
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ ทีมตกรอบรองชนะเลิศ [2]
ชนะเลิศ สกอร์ รองชนะเลิศ
2005
Details
 
ปากีสถาน
 
อินเดีย
2 – 0  
บังกลาเทศ
  มัลดีฟส์ และ   ปากีสถาน
2008
Details
   
มัลดีฟส์ และ ศรีลังกา
 
มัลดีฟส์
1 – 0  
อินเดีย
  ภูฏาน   ศรีลังกา
2009
Details
 
บังกลาเทศ
 
อินเดีย
[note 1]
0 – 0
(3 – 1 จุดโทษ)
 
มัลดีฟส์
  บังกลาเทศ และ   ศรีลังกา
2011
รายละเอียด
 
อินเดีย
 
อินเดีย
4 – 0  
อัฟกานิสถาน
  มัลดีฟส์ และ   เนปาล
2013
รายละเอียด
 
เนปาล
 
อัฟกานิสถาน
2 – 0  
อินเดีย
  มัลดีฟส์ และ   เนปาล
2015
รายละเอียด
 
อินเดีย
 
อินเดีย
2 – 1 (ต่อเวลา)  
อัฟกานิสถาน
  มัลดีฟส์ and   ศรีลังกา
2018
รายละเอียด
 
บังกลาเทศ
 
มัลดีฟส์
2–1  
อินเดีย
  เนปาล และ   ปากีสถาน
2021
รายละเอียด
 
มัลดีฟส์
 
อินเดีย
3–0  
เนปาล
 
มัลดีฟส์ [a]
2023  
อินเดีย
 
อินเดีย
1–1
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 5–4)
 
คูเวต
  บังกลาเทศ และ   เลบานอน
1ใช้การแข่งขันโดยตารางคะแนน
2เลิกมีการชิงอันดับที่ 3 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005

ความสำเร็จแต่ละประเทศ

แก้
Nation ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 อันดับที่ 4 รอบรองชนะเลิศ
  อินเดีย 8 (1993, 1997, 1999, 2005, 2009,[note 2] 2011, 2015, 2021) 3 (1995, 2008, 2013, 2018) 1 (2003)
  มัลดีฟส์ 1 (2008, 2018) 3 (1997, 2003, 2009) 2 (1999, 2021) 4 (2005, 2011, 2013, 2015)
  บังกลาเทศ 1 (2003) 2 (1999, 2005) 1 (1995) 2 (1995, 2009)
  อัฟกานิสถาน 1 (2013) 2 (2011, 2015)
  ศรีลังกา 1 (1995) 1 (1993) 1 (1997) 2 (2008, 2009, 2015)
  ปากีสถาน 1 (1997) 2 (1993, 2003) 1 (2005, 2018)
  เนปาล 1 (2021) 2 (1995, 1999) 3 (1993, 2011, 2013, 2018)
  ภูฏาน 1 (2008)

ตารางคะแนนรวมทั้งหมด

แก้

ณ ปี 2015

อันดับ ทีม เข้าร่วม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ผลต่าง คะแนน
1   อินเดีย 11 46 29 10 7 84 31 +53 97
2   มัลดีฟส์ 9 39 20 10 9 86 41 +45 70
3   อัฟกานิสถาน 7 27 12 4 11 48 42 +6 40
4   บังกลาเทศ 10 35 13 10 12 40 36 +4 49
5   ศรีลังกา 11 35 13 5 17 46 58 -12 44
6   ปากีสถาน 10 32 10 8 14 26 37 -11 38
7   เนปาล 11 34 9 6 19 37 51 -14 33
8   ภูฏาน 7 21 1 1 19 13 84 -71 4

ดูเพิ่ม

แก้

บันทึก

แก้
  1. อินเดียชนะเลิศการแข่งขันโดยใช้ทีมชาติรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
  2. ในปีค.ศ. 2009 อินเดียชนะการแข่งขันโดยใช้ทีมชาติรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

อ้างอิง

แก้
  1. Mukherjee, Soham (9 September 2021). "SAFF Championship 2021: Everything you need to know". Goal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 September 2021. สืบค้นเมื่อ 18 September 2021.
  1. The format of the tournament was changed to round-robin due to the suspension of Pakistan and the withdrawal of Bhutan. Maldives finished third in points and hence listed as third place.[1]

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้