ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันตก

ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันตก หรือ ดับเบิลยูเอเอฟเอฟ แชมเปียนชิป เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายทีมชาติในกลุ่มประเทศในเอเชียทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ อยู่ภายใต้การดูแลของ สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก แข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 มีทีมแข่งขันทั้งสิ้น 12 ทีม[1]

ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันตก
ผู้จัดดับเบิลยูเอเอฟเอฟ
ก่อตั้งค.ศ. 2000; 24 ปีที่แล้ว (2000)
ภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้
จำนวนทีม12 (2023)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติบาห์เรน บาห์เรน (สมัยที่ 1)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (4 สมัย)
เว็บไซต์the-waff.com
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันตก 2023

ผลการแข่งขัน แก้

ครั้ง ปี เจ้าภาพ ชนะเลิศ ผล และ สนาม รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผล และ สนาม อันดับที่ 4 จำนวนทีม
1 2000   จอร์แดน  
อิหร่าน
1–0
คิง อับดุลลาห์ สเตเดี้ยม, อัมมาน
 
ซีเรีย
 
อิรัก
4–1  
จอร์แดน
8
2 2002   ซีเรีย  
อิรัก
3–2
(ต่อเวลา)
สนามกีฬาอัลอับบาสซียิน, ดามัสกัส
 
จอร์แดน
 
อิหร่าน
2–2
(ต่อเวลา)
(4–2 pen.)
 
ซีเรีย
6
3 2004   อิหร่าน  
อิหร่าน
4–1
สนามกีฬาอาซาดี, เตหะราน
 
ซีเรีย
 
จอร์แดน
3–1  
อิรัก
6
4 2007   จอร์แดน  
อิหร่าน
2–1
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
 
อิรัก
  จอร์แดน และ   ซีเรีย[note 1] 6
5 2008   อิหร่าน  
อิหร่าน
2–1
สนามกีฬาอาซาดี, เตหะราน
 
จอร์แดน
  กาตาร์ และ   ซีเรีย[note 1] 6
6 2010   จอร์แดน  
คูเวต
2–1
สนามกีฬาคิง อับดุลลาห์, อัมมาน
 
อิหร่าน
  อิรัก และ   เยเมน[note 1] 9
7 2012   คูเวต  
ซีเรีย
1–0
สนามกีฬาอัล-ซาดากัววัลซาลาม, คูเวตซิตี
 
อิรัก
 
โอมาน
1–0  
บาห์เรน
11
8 2013   กาตาร์  
กาตาร์
2–0
อัล ซาดด์ สเตเดียม, โดฮา
 
จอร์แดน
 
บาห์เรน
0–0
(ต่อเวลา)
(3–2 pen.)
 
คูเวต
9
9 2019   อิรัก  
บาห์เรน
1–0
กัรบะลาอินเตอร์เนชั่นแนลสเตเดียม, กัรบะลา
 
อิรัก
[note 2] 9
10 2023   TBD 12
  • a.e.t.: หลังต่อเวลาพิเศษ
  • pen.: หลังดวลจุดโทษ
  • TBD: ที่จะถูกกำหนด
หมายเหตุ
  1. 1.0 1.1 1.2 ผู้เข้ารอบรองชนะเลิศทั้งสองทีมในปี ค.ศ. 2007, 2008 และ 2010 ไม่ได้เล่นนัดชิงที่สาม
  2. ไม่มีทั้งรอบรองชนะเลิศหรือชิงอันดับสามในปี ค.ศ. 2019

ความสำเร็จแต่ละประเทศ แก้

ทีมที่เข้าถึงสี่อันดับแรก
ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 31 อันดับที่ 4 รวม
  อิหร่าน 4 (2000, 2004*, 2007, 2008*) 1 (2010) 1 (2002) 6
  อิรัก 1 (2002) 3 (2007, 2012, 2019*) 2 (2000, 20102) 1 (2004) 7
  ซีเรีย 1 (2012) 2 (2000, 2004) 2 (20072, 20082) 1 (2002*) 6
  บาห์เรน 1 (2019) 1 (2013) 1 (2012) 3
  กาตาร์ 1 (2013*) 1 (20082) 2
  คูเวต 1 (2010) 1 (2013) 2
  จอร์แดน 3 (2002, 2008, 2013) 2 (2004, 20072*) 1 (2000*) 6
  เยเมน 1 (20102) 1
  โอมาน 1 (2012) 1
* = เจ้าภาพ
1 = รวมถึงรอบรองชนะเลิศในกรณีที่ไม่มีการแข่งขันรอบชิงที่สาม
2 = รอบรองชนะเลิศ

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "West Asian Championship". www.rsssf.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 October 2007. สืบค้นเมื่อ 2020-12-04.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้