ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019 นัดชิงชนะเลิศ

การแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019, เป็นทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลที่เป็นเจ้าภาพโดย ประเทศกาตาร์. ครั้งนี้เป็นนัดชิงชนะเลิศครั้งที่ 16 ของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, ทัวร์นาเมนต์ที่มีการจัดขึ้นโดยฟีฟ่าระหว่างสโมสรที่เป็นผู้ชนะจากแต่ละทีมแต่ละสมาพันธ์จากหกทวีป, เช่นเดียวกับแชมป์ลีกจากชาติเจ้าภาพ.

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019 นัดชิงชนะเลิศ
รายการฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019
หลังต่อเวลาพิเศษ
วันที่21 ธันวาคม ค.ศ. 2019
สนามสนามกีฬาแห่งชาติคาลิฟา, โดฮา
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
โรแบร์ตู ฟีร์มีนู (ลิเวอร์พูล)[1]
ผู้ตัดสินอับดุลระห์มัน อัล-จัสซิม (กาตาร์)[2]
ผู้ชม45,416 คน[1]
สภาพอากาศกลางคืนสดใส
20 °C (68 °F)
ความชื้นสัมพัทธ์ 66%[2][3]
2018
2020

รอบชิงชนะเลิศเป็นการตัดสินกันระหว่าง สโมสรจากอังกฤษ ลิเวอร์พูล, ตัวแทนจาก ยูฟ่า ในฐานะแชมป์เก่าของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, และ สโมสรจาก บราซิล ฟลาเม็งกู, ตัวแทน คอนเมบอล ในฐานะแชมป์เก่าของ โกปาลิเบร์ตาโดเรส. แมตช์นี้เป็นการลงเล่นที่ สนามกีฬาแห่งชาติคาลิฟา ใน โดฮา เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2019.[4]

ทีม แก้

ในตารางด้านล่างนี้, นัดชิงชนะเลิศตั้งแต่ปี 2005 เป็นยุคฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป, ตั้งแต่ปี 2006 เป็นในยุคฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ.

ทีม สมาพันธ์ การคัดเลือกสำหรับทัวร์นาเมนต์ ครั้งที่ผ่านมานัดชิงชนะเลิศคลับเวิลด์แชมเปียนชิป
(ตัวหนาหมายถึงปีที่ทีมชนะเลิศ)
  ลิเวอร์พูล ยูฟ่า ชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 IC: 2 (1981, 1984)
FCWC: 1 (2005)
  ฟลาเม็งกู คอนเมบอล ชนะเลิศของ โกปาลิเบร์ตาโดเรส ฤดูกาล 2019 IC: 1 (1981)

หมายเหตุ: เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ. 2017, ฟีฟ่า ได้รับการยกย่องอย่างเป็นทางการถึงแชมเปียนส์ของอินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ ในฐานะแชมเปียนส์สโมสรโลก, อยู่ในสถานะเท่ากับฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ.[5]

ภูมิหลัง แก้

นัดชิงชนะเลิศครั้งนี้เป็นการรีแมตช์ของ อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ 1981, ได้รับการยอมรับจากฟีฟ่าให้เป็น คลับเวิลด์แชมเปียนชิป. ฟลาเม็งกู ชนะนัดนี้ไปได้ 3–0 สำหรับพวกเขาเท่านั้นที่ครองแชมป์สโมสรโลก.[6]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ แก้

  ลิเวอร์พูล ทีม   ฟลาเม็งกู
คู่แข่งขัน ผล ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019 คู่แข่งขัน ผล
  มอนเตร์เรย์ 2–1 รอบรองชนะเลิศ   อัล-ฮิลาล 3–1

แมตช์ แก้

รายละเอียด แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
ลิเวอร์พูล[7]
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟลาเม็งกู[7]
GK 1   อาลีซง
RB 66   เทรนต์ อเล็กซานเดอร์-อาร์โนลด์
CB 4   เฟอร์จิล ฟัน ไดก์
CB 12   โจ โกเมซ
LB 26   แอนดรูว์ รอเบิร์ตสัน
CM 8   นาบี เกอีตา   100'
CM 14   จอร์แดน เฮนเดอร์สัน (กัปตัน)
CM 15   อเล็กซ์ ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลิน   75'
RF 11   มุฮัมมัด เศาะลาห์   81'   120+1'
CF 9   โรแบร์ตู ฟีร์มีนู   100'   106'
LF 10   ซาดีโย มาเน   45+1'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 13   อาเดรียน
GK 22   แอนดี โลเนอร์แกน
DF 51   คี-จานา ฮูเฟอร์
DF 72   เซปป์ ฟาน เด็น เบิร์ก
DF 76   เนโก วิลเลียมส์
MF 5   จอร์จีนีโย ไวนัลดึม
MF 7   เจมส์ มิลเนอร์   105'   100'
MF 20   แอดัม ลัลลานา   75'
MF 48   เคอร์ติส โจนส์
FW 23   แจร์ดัน ชาชีรี   120+1'
FW 27   ดีว็อก โอรีกี   106'
FW 67   ฮาวี เอลเลียต
ผู้จัดการทีม:
  เยือร์เกิน คล็อพ
 
GK 1   จีเอกู อัลวิส
RB 13   Rafinha
CB 3   Rodrigo Caio
CB 4   Pablo Marí
LB 16   ฟีลีปี ลูอีช
DM 14   Giorgian De Arrascaeta   77'
CM 5   Willian Arão   120'
CM 8   Gerson   102'
RM 7   Éverton Ribeiro (กัปตัน)   82'
LM 27   Bruno Henrique
CF 9   กาบรีแยล บาร์บอซา
ผู้เล่นสำรอง:
GK 22   Gabriel Batista
GK 37   César
DF 2   Rodinei
DF 6   Renê
DF 26   Matheus Thuler
DF 44   Rhodolfo
MF 10   Diego   112'   82'
MF 19   Reinier
MF 25   Robert Piris Da Motta
MF 28   Orlando Berrío   120'
FW 11   Vitinho   90'   77'
FW 29   Lincoln   102'
ผู้จัดการทีม:
  Jorge Jesus

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
โรแบร์ตู ฟีร์มีนู (ลิเวอร์พูล)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Taleb Al-Marri (กาตาร์)
Saoud Al-Maqaleh (กาตาร์)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Mustapha Ghorbal (แอลจีเรีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Mokrane Gourari (แอลจีเรีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Juan Martínez Munuera (สเปน)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Kyle Atkins (สหรัฐ)
Esteban Ostojich (อุรุกวัย)
Bakary Gassama (แกมเบีย)

ข้อมูลในการแข่งขัน[8]

  • 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • รายชื่อผู้เล่นตัวสำรองมีได้สูงสุดถึง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นมีจำนวนสูงสุดได้ถึง 3 คนในช่วง 90 นาที, แต่สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นคนที่สี่ได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ.

สถิติ แก้

โดยรวม[1]
สถิติ ลิเวอร์พูล ฟลาเม็งกู
ประตูที่ทำได้ 1 0
ยิงทั้งหมด 18 14
ยิงเข้ากรอบ 6 2
การเซฟ 2 5
เปอร์เซ็นต์การครองบอล 48% 52%
เตะมุม 5 7
ทำฟาวล์ 22 16
ล้ำหน้า 3 6
ใบเหลือง 4 2
ใบแดง 0 0

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Match report – Final – Liverpool FC v CR Flamengo" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 21 ธันวาคม ค.ศ. 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-21. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2019. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 "Start list – Final – Liverpool FC v CR Flamengo" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 21 December 2019.
  3. "Final – Liverpool FC v CR Flamengo". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 21 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-21. สืบค้นเมื่อ 21 December 2019.
  4. "FIFA Club World Cup Qatar 2019 Match Schedule" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 30 September 2019. สืบค้นเมื่อ 30 September 2019.
  5. "FIFA Council approves key organisational elements of the FIFA World Cup" (Press release). FIFA. 27 October 2017. สืบค้นเมื่อ 27 October 2017.[ลิงก์เสีย]
  6. Law, Joshua (15 December 2019). "Flamengo 3–0 Liverpool: the day Zico 'ran rings around the English'". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 18 December 2019.
  7. 7.0 7.1 "Tactical Line-up – Final – Liverpool FC v CR Flamengo" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 21 ธันวาคม ค.ศ. 2019. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2019. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  8. "FIFA Club World Cup Qatar 2019 Regulations" (PDF).

แหล่งข้อมูลอื่น แก้