ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013 นัดชิงชนะเลิศ

การแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013, เป็นทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลที่เป็นเจ้าภาพโดย ประเทศโมร็อกโก. ครั้งนี้เป็นนัดชิงชนะเลิศครั้งที่ 10 ของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, ทัวร์นาเมนต์ที่มีการจัดขึ้นโดยฟีฟ่าระหว่างสโมสรที่เป็นผู้ชนะจากแต่ละทีมแต่ละสมาพันธ์จากหกทวีป, เช่นเดียวกับแชมป์ลีกจากชาติเจ้าภาพ.

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013 นัดชิงชนะเลิศ
รายการฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013
วันที่21 ธันวาคม พ.ศ. 2556
สนามสตาด เดอ มาร์ราคิช, มาร์ราคิช
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
ฟร็องก์ รีเบรี (บาเยิร์นมิวนิก)
ผู้ตัดสินซังดรู ริคชี (บราซิล)
ผู้ชม37,774 คน
สภาพอากาศกลางคืนอากาศสดใส
13 องศาเซลเซียส (55 องศาฟาเรนไฮต์)
65% ความชื้นสัมพัทธ์
2012
2014

รอบชิงชนะเลิศเป็นการตัดสินกันระหว่าง สโมสรจากเยอรมัน บาเยิร์นมิวนิก, เป็นตัวแทนของ ยูฟ่า ในฐานะครองแชมป์ของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, และสโมสรจากโมร็อกโก ราจา คาซาบลังกา, เป็นตัวแทนของประเทศเจ้าภาพในฐานะครองแชมป์ของ โบโตลา. ครั้งนี้จะลงเล่นที่ สตาด เดอ มาร์ราคิช ใน มาร์ราคิช เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556.[1][2]

ภูมิหลัง แก้

บาเยิร์นมิวนิก แก้

บาเยิร์นมิวนิก ได้สิทธิ์สำหรับทัวร์นาเมนต์ในฐานะทีมชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13, ด้วยการเอาชนะ 2–1 ในการพบกับ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ใน เกมนัดชิงชนะเลิศ. นี่เป็นครั้งแรกของบาร์เซโลนาที่ได้เข้าร่วมในทัวร์นาเมนต์. พวกเขาได้ลงเล่นสองครั้งใน อินเตอร์คอนติเนนตัล คัพ, ก่อนหน้าที่จะเป็นฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, ในปี ค.ศ. 1976 และ ค.ศ. 2001.[3] พวกเขาได้ทะลุเข้าชิงชนะเลิศโดยที่สามารถเอาชนะสโมสรจากจีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ในรอบรองชนะเลิศ.[4]

ราจา คาซาบลังกา แก้

ราจา คาซาบลังกา ชนะ โบโตลา ฤดูกาล 2012–13 ที่ได้รับตำแหน่งประเทศเจ้าภาพของทัวร์นาเมนต์. นี่เป็นครั้งที่สองของราจา คาซาบลังกา ที่เข้าร่วมในการแข่งขัน, มีส่วนร่วมในการแข่งขันในยุคสถาปนาในปี ค.ศ. 2000. พวกเขาคือทีมที่สองที่สามารถเข้าชิงชนะเลิศของการแข่งขัน (หลัง โครินเธียนส์ ในปี ค.ศ. 2000) ภายใต้เงื่อนไขของการเป็นทีมชนะเลิศของประเทศเจ้าภาพ,[5][6] เช่นเดียวกับทีมจากแอฟริกาที่ได้เข้าชิงชนะเลิศเป็นครั้งที่สอง (หลัง ทีพี มาเซมเบ ใน 2010).[7] พวกเขาได้เข้ามาถึงรอบชิงชนะเลิศหลังจากที่เอาชนะสโมสรจากนิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี ในรอบเพลย์ออฟ,[8] สโมสรจากเม็กซิโก มอนเตอร์เรย์ ในรอบก่อนรองชนะเลิศ,[9] และสโมสรจากบราซิล อัตเลตีโก มีไนรู ในรอบรองชนะเลิศ.[10]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ แก้

  บาเยิร์นมิวนิก ทีม   ราจา คาซาบลังกา
ยูฟ่า สมาพันธ์ ซีเอเอฟ
ชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13 ได้สิทธิ์เข้ารอบในฐานะ ชนะเลิศของ โบโตลา ฤดูกาล 2012–13
บาย รอบเพลย์ออฟ 2–1   ออกแลนด์ ซิตี
(เอียจูร์ 39', ฮาฟิดี 90+2')
บาย รอบก่อนรองชนะเลิศ 2–1
(ต่อเวลา)
  มอนเตอร์เรย์
(ชติบี 24', กูเอฮี 95')
3–0   กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
(รีเบรี 40', มันจูคิช 44', เกิทเซอ 47')
รอบรองชนะเลิศ 3–1   อัตเลตีกู มีไนรู
(เอียจูร์ 51', มูตูอาลี 84' (ลูกโทษ), มาบิเด 90+4')

นัด แก้

สรุปผลการแข่งขัน แก้

รายละเอียด แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
บาเยิร์นมิวนิก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ราจา คาซาบลังกา
GK 1   มานูเอล นอยเออร์
RB 13   ราฟีญา
CB 17   เชโรม โบอาเทง
CB 4   ดังชี
LB 27   ดาวิด อาลาบา
DM 21   ฟิลิปป์ ลาห์ม (กัปตัน)
RM 11   แจร์ดัน ชาชีรี   80'
CM 6   เตียโก
CM 39   โทนี โครส   60'
LM 7   ฟร็องก์ รีเบรี
CF 25   โทมัส มึลเลอร์   76'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 22   ทอม ชทาร์เคอ
GK 32   ลูคัส ราเออเดอร์
DF 5   ดาเนียล ฟัน บุยเทิน
DF 15   ยัน เคิร์ชฮอฟฟ์
DF 26   ดีเอโก คอนเตนโต
MF 8   คาบี มาร์ตีเนซ   60'
MF 19   มารีโอ เกิทเซอ   80'
MF 23   มิตเชลล์ ไวเซอร์
MF 34   ปีแอร์-เอมิล ฮอยแบร์ก
MF 37   จูเลียน กรีน
FW 9   มารีโอ มันจูคิช   76'
FW 14   เคลาดีโอ ปีซาร์โร
ผู้จัดการทีม:
  เปป กวาร์ดีโอลา
 
GK 61   คาลิด อัสครี
RB 3   ซากาเรีย เอล ฮาชิมี
CB 27   อิสมาอิล เบนลามาเล็ม
CB 16   โมฮาเหม็ด โออุลฮัจ   55'
LB 21   อาดิล เคอร์รูชี
CM 99   อิสซัม เออร์รากี
CM 28   คูโค กูเอฮี
RW 8   เชมเซดดีน ชติบี   50'
AM 5   มูห์ซีน มูตูอาลี (กัปตัน)
LW 18   อับเดลิลาห์ ฮาฟิดี   88'
CF 20   มูห์ซีน เอียจูร์   78'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1   ยาสซีน เอล ฮัด
GK 37   บราฮิม ซาอารี
DF 4   อาห์เหม็ด ราห์มานี
DF 17   ราชิด ซูไลมานี   79'   78'
DF 31   ไอดริสซา คูลิบาลี
MF 7   เดโอ คันดา
MF 24   วิอันนีย์ มาบิเด   50'
MF 26   อิสมาอิล คูชาเม
MF 30   เรดูอาเน ดาร์ดูรี
FW 9   อับเดลมาจิด ดิเน
FW 10   บาดร์ คาชานี   88'
FW 25   ยาสซีน ซัลฮี
ผู้จัดการทีม:
  ฟาอูซี เบนซาร์ตี

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ฟร็องก์ รีเบรี (บาเยิร์นมิวนิก)

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
เอแมร์ซง จี การ์วัลญู (บราซิล)
มาร์เซลู วัน กัสเซ (บราซิล)
ผู้ตัดสินที่สี่:
มาร์ค ไกเกอร์ (สหรัฐอเมริกา)
ผู้ตัดสินที่ห้า:
ชอน เฮิร์ด (สหรัฐอเมริกา)

ข้อมูลในการแข่งขัน[11]

  • 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • รายชื่อผู้เล่นตัวสำรองมีได้สูงสุดถึง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นมีจำนวนสูงสุดได้ถึง 3 คน

อ้างอิง แก้

  1. "Bayern breeze into CWC final". ESPN FC. ESPN Internet Ventures. 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  2. "Raja Casablanca 3-1 Atletico Mineiro". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  3. "Bayern Munich cruises into Club World Cup final". USA Today. 2013-12-16. สืบค้นเมื่อ 2013-12-20.
  4. "Bayern Munich through to Fifa Club World Cup final with 3-0 win". BBC. 2013-12-16. สืบค้นเมื่อ 2013-12-20.
  5. Matchett, Karl (18 ธันวาคม พ.ศ. 2556). "Raja Casablanca vs. Atletico Mineiro: Score, Grades and Post-Match Reaction". Bleacher Report. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  6. McCauley, Kevin (16 ธันวาคม พ.ศ. 2556). "Raja Casablanca vs. Atletico Mineiro: Final score 3-1, Moroccan champions will face Bayern Munich". SBNation.com (Vox Media). สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  7. "Raja shock Atletico to reach final". cafonline.com (Confederation of African Football). 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 21 เมษายน พ.ศ. 2557. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  8. "Raja score late to beat Auckland". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  9. "Raja Casablanca reach Club World Cup semi-final". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  10. Hughes, Ian (19 ธันวาคม พ.ศ. 2556). "Raja revel in historic victory". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  11. "Regulations – FIFA Club World Cup Morocco 2013" (PDF). FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-10-08. สืบค้นเมื่อ 2016-12-16.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้