ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา

ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา (อังกฤษ: Africa Futsal Cup of Nations) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ แอฟริกันฟุตซอลแชมป์เปียนชิพ จนถึงปี 2015) เป็นการแข่งขันฟุตซอลระดับนานาชาติในทวีปแอฟริกาถูกจัดขึ้นครั้งแรกในปี 1996 โดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF) และจัดต่อกันเรื่อย4ปีครั้ง

ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา
ก่อตั้ง1996
ภูมิภาคแอฟริกา (ซีเอเอฟ)
จำนวนทีม8
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก (1st title)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติอียิปต์ อียิปต์ (3 titles)
ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา 2016

ในวันที่ 6 สิงหาคม 2015, คณะกรรมการบริหารของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกาได้เปลี่ยนชื่อทัวร์นาเมนต์นี้จากชื่อ แอฟริกันฟุตซอลแชมป์เปียนชิพ (African Futsal Championship) เป็น ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกาหรือแอฟริกาฟุตซอลคัพออฟเนชันส์ (Africa Futsal Cup of Nations), ให้เหมือนกับ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์.[1]

ผลการแข่งขัน แก้

ปี เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน อันดับที่ 2 อันดับที่ 3 ผลการแข่งขัน อันดับที่ 4
1996
รายละเอียด
 
อียิปต์
 
อียิปต์
พบกันหมด  
กานา
 
ซิมบับเว
พบกันหมด  
โซมาเลีย
2000
รายละเอียด
 
อียิปต์
 
อียิปต์
พบกันหมด  
โมร็อกโก
 
ลิเบีย
พบกันหมด  
แอฟริกาใต้
2004
รายละเอียด
เล่นในบ้านของประเทศเจ้าบ้าน  
อียิปต์
10 – 2
3 – 5
 
โมซัมบิก
  กินี-บิสเซา /   โมร็อกโก
2008
รายละเอียด
 
ลิเบีย
 
ลิเบีย
4 – 3 a.e.t.  
อียิปต์
 
โมร็อกโก
3 – 1 a.e.t.  
โมซัมบิก
2011
รายละเอียด
 
บูร์กินาฟาโซ
ยกเลิก ยกเลิก
2016
รายละเอียด
 
แอฟริกาใต้
 
โมร็อกโก
3 – 2  
อียิปต์
 
โมซัมบิก
5 – 5 a.e.t.
(2 – 1) pen
 
แซมเบีย
2020
รายละเอียด
To be determined

^n/a A round-robin tournament determined the final standings.
^Cancelled ในปี 2011 ถูกยกเลิกเนืองจากมีการคัดเลือกทีมจากแอฟริกา 3 ทีม ไปแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012โดยการคัดเลือกนั้นมีการจัดการแข่งแยกต่างหากซึ่งอียิปต์ ลิเบีย และโมร็อกโกได้ไปเข้าร่วมการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012

ผลการแข่งขันแบ่งตามประเทศ แก้

ทีม แชมป์ อันดับที่ 2 อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
  อียิปต์ 3 (1996*, 2000*, 2004) 2 (2008, 2016)
  โมร็อกโก 1 (2016) 1 (2000) 2 (2004, 2008)
  ลิเบีย 1 (2008*) 1 (2000)
  โมซัมบิก 1 (2004) 1 (2016) 1 (2008)
  กานา 1 (1996)
  กินี-บิสเซา 1 (2004)
  ซิมบับเว 1 (1996)
  โซมาเลีย 1 (1996)
  แอฟริกาใต้ 1 (2000)
  แซมเบีย 1 (2016)
* = เจ้าภาพ

อ้างอิง แก้

  1. "Decisions of CAF Executive Committee on 6 August 2015". CAF. 9 August 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้