ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2020

การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2020 เป็นครั้งที่ 16 ของการแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย เป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ระดับนานาชาติประจำปีที่จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติฟุตซอลทีมชายของทวีปเอเชีย โดยครั้งนี้ไปจัดการแข่งขันขึ้นที่เมืองอาชกาบัต ประเทศเติร์กเมนิสถาน โดยเดิมกำหนดแข่งขันในระหว่างวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ถึง 8 มีนาคม พ.ศ. 2563 อย่างไรก็ตาม AFC ได้ประกาศเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ว่าเนื่องจาก การระบาดของโรคโคโรนาไวรัสในปี พ.ศ. 2562-2563. เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2563, ทางเอเอฟซีได้อนุมัติวันที่แข่งขันใหม่เป็นระหว่างวันที่ 23 มีนาคม และ 3 เมษายน พ.ศ. 2564.[2] อย่างไรก็ตาม, เอเอฟซีประกาศว่าการยกเลิกของทัวร์นาเมนต์นี้ไปเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2564, ออกจากการเป็นสิทธิ์เจ้าภาพสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 กับคูเวต.[1]

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2020
بطولة آسيا لكرة الصالات 2020
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพคูเวต
วันที่ยกเลิก[1]
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
2018
2022

โดยการแข่งขันครั้งนี้จะคัดเอาทีมตัวแทนทวีปเอเชีย 5 ประเทศ โดยจะคัดทีมอันดับที่ 1 ถึงอันดับที่ 5 ไปแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2020 ที่ประเทศลิทัวเนีย[3]

อิหร่าน ได้สิทธิ์ป้องกันแชมป์ในฐานะแชมป์ครั้งที่แล้ว

การเลือกเจ้าภาพ แก้

โดยมีประเทศที่สนใจที่จะเป็นเจ้าภาพ ดังนี้

โดยในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปีค.ศ. 2019 ประเทศเติร์กเมนิสถาน ก็ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพ โดยจะใช้เมืองอาชกาบัต ในการแข่งขัน

รอบคัดเลือก แก้

โดยการแข่งขันรอบคัดเลือกได้ทำการแข่งในช่วงวันที่ 16-27 ตุลาคม พ.ศ. 2562[4] โดยทางประเทศเติร์กเมนิสถานก็จะเข้าร่วมการแข่งขันในรอบคัดเลือกถึงแม้จะเข้ารอบสุดท้ายไปแล้ว ในฐานะเจ้าภาพก็ตาม

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

โดยมี 16 ชาติที่ผ่านรอบสุดท้าย มีดังนี้[5]

ทีมชาติ เข้ารอบในฐานะ จำนวนที่ผ่านเข้ารอบ ผลงานที่ดีที่สุด
  เติร์กเมนิสถาน เจ้าภาพ 7 รอบแบ่งกลุ่ม (2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012)
  ไทย ฟุตซอลชิงแชมป์อาเซียน 2019 ชนะเลิศ 16 รองชนะเลิศ (2008, 2012)
  อินโดนีเซีย ฟุตซอลชิงแชมป์อาเซียน 2019 รองชนะเลิศ 10 รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2014)
  เวียดนาม ฟุตซอลชิงแชมป์อาเซียน 2019 อันดับ 3 6 อันดับ 4 (2016)
  อุซเบกิสถาน โซนใต้และกลาง ชนะเลิศกลุ่ม A 16 รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016)
  ทาจิกิสถาน โซนใต้และกลาง รองชนะเลิศกลุ่ม A 11 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2007)
  อิหร่าน โซนใต้และกลาง ชนะเลิศกลุ่ม B 16 ชนะเลิศ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018)
  คีร์กีซสถาน โซนใต้และกลาง รองชนะเลิศกลุ่ม B 16 รอบรองชนะเลิศ (2005), อันดับ 4 (2006, 2007)
  จีน โซนตะวันออก ชนะเลิศกลุ่ม A 13 อันดับ 4 (2008, 2010)
  ญี่ปุ่น โซนตะวันออก ชนะเลิศกลุ่ม B 16 ชนะเลิศ (2006, 2012, 2014)
  เกาหลีใต้ โซนตะวันออก ชนะเลิศเพลย์ออฟ 14 รองชนะเลิศ (1999)
  คูเวต โซนตะวันตก ชนะเลิศกลุ่ม A 12 อันดับ 4 (2003, 2014)
  บาห์เรน โซนตะวันตก รองชนะเลิศกลุ่ม A 3 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2018)
  เลบานอน โซนตะวันตก ชนะเลิศกลุ่ม B 12 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2004, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2018)
  ซาอุดีอาระเบีย โซนตะวันตก รองชนะเลิศกลุ่ม B 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2016)
  โอมาน โซนตะวันตก ชนะเลิศเพลย์ออฟ 1 ครั้งแรก

สนามแข่งขัน แก้

การแข่งขันจะลงเล่นในสองสนามในหนึ่งเมือง.[6]

อาชกาบัต
Main Indoor Arena Martial Arts Arena
ความจุ: 15,000 ความจุ: 5,000

การจับสลาก แก้

การจับสลากรอบสุดท้ายจะจัดขึ้นในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562, 15:00 TMT (UTC+5), ที่โอลิมเปีย โฮเต็ล ในเมือง อาชกาบัต.[7][8] 16 ทีมจะถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม. แต่ละทีมจะถูกจัดเป็นทีมวางตามผลงานของพวกเขาใน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018 รอบสุดท้ายและ รอบคัดเลือก, กับชาติเจ้าภาพที่เป็นทีมวางโดยอัตโนมัติ เติร์กเมนิสถาน และได้ถูกระบุสู่ตำแหน่ง เอ1 ในการจับสลาก.[9]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

1.   เติร์กเมนิสถาน (เจ้าภาพ)
2.   อิหร่าน
3.   ญี่ปุ่น
4.   อุซเบกิสถาน

5.   เลบานอน
6.   เวียดนาม
7.   บาห์เรน
8.   ไทย

9.   คีร์กีซสถาน
10.   ทาจิกิสถาน
11.   จีน
12.   เกาหลีใต้

13.   ซาอุดีอาระเบีย
14.   อินโดนีเซีย
15.   คูเวต (ไม่ติดอันดับ)
16.   โอมาน (ไม่ติดอันดับ)

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, TMT (UTC+5).[10]

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เติร์กเมนิสถาน (H) 0 0 0 0 0 0 0 0 รอบแพ้คัดออก
2   เวียดนาม 0 0 0 0 0 0 0 0
3   ทาจิกิสถาน 0 0 0 0 0 0 0 0
4   โอมาน 0 0 0 0 0 0 0 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.


กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น 0 0 0 0 0 0 0 0 รอบแพ้คัดออก
2   เลบานอน 0 0 0 0 0 0 0 0
3   คีร์กีซสถาน 0 0 0 0 0 0 0 0
4   คูเวต 0 0 0 0 0 0 0 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่ม ซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อุซเบกิสถาน 0 0 0 0 0 0 0 0 รอบแพ้คัดออก
2   บาห์เรน 0 0 0 0 0 0 0 0
3   จีน 0 0 0 0 0 0 0 0
4   อินโดนีเซีย 0 0 0 0 0 0 0 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่ม ดี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิหร่าน 0 0 0 0 0 0 0 0 รอบแพ้คัดออก
2   ไทย 0 0 0 0 0 0 0 0
3   เกาหลีใต้ 0 0 0 0 0 0 0 0
4   ซาอุดีอาระเบีย 0 0 0 0 0 0 0 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


รอบแพ้คัดออก แก้

สายการแข่งขัน แก้

 
Quarter-finalsSemi-finalsFinal
 
          
 
 
 
ชนะเลิศ กลุ่ม เอ
 
 
รองชนะเลิศ กลุ่ม บี
 
ผู้ชนะ QF1
 
 
ผู้ชนะ QF2
 
ชนะเลิศ กลุ่ม ซี
 
 
รองชนะเลิศ กลุ่ม ดี
 
ผู้ชนะ SF1
 
 
ผู้ชนะ SF2
 
ชนะเลิศ กลุ่ม บี
 
 
รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ
 
ผู้ชนะ QF3
 
 
ผู้ชนะ QF4Third place match
 
ชนะเลิศ กลุ่ม ดี
 
 
รองชนะเลิศ กลุ่ม ซี
 
ผู้แพ้ SF1
 
 
ผู้แพ้ SF2
 
 
Fifth place play-offsFifth place match
 
      
 
 
 
ผู้แพ้ QF1
 
 
ผู้แพ้ QF2
 
ผู้ชนะ PO1
 
 
ผู้ชนะ PO2
 
ผู้แพ้ QF3
 
 
ผู้แพ้ QF4
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2021. ผู้แพ้จะได้เข้าสู่การเพลย์ออฟอันดับที่ห้า.

ชนะเลิศ กลุ่ม ซียกเลิกรองชนะเลิศ กลุ่ม ดี
รายงาน

ชนะเลิศ กลุ่ม ดียกเลิกรองชนะเลิศ กลุ่ม ซี
รายงาน

ชนะเลิศ กลุ่ม บียกเลิกรองชนะเลิศ กลุ่ม เอ
รายงาน

ชนะเลิศ กลุ่ม เอยกเลิกรองชนะเลิศ กลุ่ม บี
รายงาน

เพลย์ออฟอันดับที่ 5 แก้

ผู้แพ้ QF3ยกเลิกผู้แพ้ QF4
รายงาน

ผู้แพ้ QF1ยกเลิกผู้แพ้ QF2
รายงาน

รอบรองชนะเลิศ แก้

ผู้ชนะ QF3ยกเลิกผู้ชนะ QF4
รายงาน

ผู้ชนะ QF1ยกเลิกผู้ชนะ QF2
รายงาน

นัดชิงอันดับที่ 5 แก้

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2021.

ผู้ชนะ PO1ยกเลิกผู้ชนะ PO2
รายงาน

นัดชิงอันดับที่ 3 แก้

ผู้แพ้ SF1ยกเลิกผู้แพ้ SF2
รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ แก้

ผู้ชนะ SF1ยกเลิกผู้ชนะ SF2
รายงาน

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Latest update on AFC Competitions in 2021". Asian Football Confederation official website. 25 January 2021.
  2. "AFC Futsal and Beach Soccer Committee approves new competition dates". AFC. 10 November 2020.
  3. "FIFA Futsal World Cup 2020 – slot allocation" (PDF). FIFA.com. 14 June 2018.
  4. "AFC Competitions Calendar 2019". AFC. 9 May 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-06. สืบค้นเมื่อ 2019-11-05.
  5. "Turkmenistan 2020 cast finalised". AFC. 27 October 2019.
  6. "All participants of the 2020 AFC Futsal Championship in Ashgabat became known". Turkmenportal. 28 October 2019.
  7. "Asia's futsal elite set to discover Turkmenistan 2020 path". AFC. 5 ธันวาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  8. "Memorable clashes ahead as Turkmenistan 2020 groups revealed". AFC. 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  9. "Official Draw : AFC Futsal Championship Turkmenistan 2020". YouTube. 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  10. "Official Match Schedule". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-07. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้