ฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2015
การแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2015 (อังกฤษ: 2015 Deaf Futsal World Cup) นับเป็นการแข่งขันฟุตซอลของคนหูหนวกชิงแชมป์โลกครั้งที่ 4 ซึ่งจัดขึ้นที่ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 20 – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
2015 Deaf Futsal World Cup | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | ไทย |
วันที่ | 20 – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 |
ทีม | 22 |
สถานที่ | 3 |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 52 |
จำนวนประตู | 349 (6.71 ประตูต่อนัด) |
การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
แก้ทีมเจ้าภาพ
แก้ฟุตซอลทีมชาติไทย ในฐานะเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ได้ผ่านเข้ารอบอัตโนมัติ
สถานที่แข่งขัน
แก้ต่อไปนี้เป็นสนามกีฬาในร่มที่ใช้ในการแข่งขัน[1]
สนาม | อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก | อาคารกีฬานิมิบุตร กรีฑาสถานแห่งชาติ | อาคารกีฬาเวสน์ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) |
---|---|---|---|
ภาพ | 200px | ||
เขต | เขตบางกะปิ | เขตปทุมวัน | เขตดินแดง |
ความจุ | 6,000 | 5,600 | 5,000 |
ผู้ตัดสิน
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การแสดงในพิธีเปิด-ปิด
แก้พิธีเปิด
แก้พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานพิธีเปิดการแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2558 ที่อาคารกีฬานิมิบุตร สนามกีฬาแห่งชาติ เมี่อวันที่ 19 พฤศจิกายน โดยมีนางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, นายสกล วรรณพงษ์ ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย(กกท.) ร่วมด้วย ส่วนนักกีฬาที่ทำหน้าที่จุดคบเพลิงได้แก่ อโณทัย สาธิยมาส กัปตันทีมฟุตซอลคนหูหนวกทีมชาติไทยจอมเก๋าวัย 39 ปี
ชุดที่ | ชื่อการแสดงในพิธีเปิด | เวลา |
1 | สยามเมืองยิ้ม (Thailand Land of Smile) | นาที |
พิธีการ ฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก | นาที | |
2 | กีฬาสร้างแรงบันดาลใจ จุดไฟฝัน (The sports to inspire) | นาที |
3 | ไทยแลนด์ ดินแดนมหัศจรรย์ (Thailand Wonders Land) | นาที |
รวมเวลาการแสดง | ชั่วโมง นาที |
พิธีเปิด
แก้การจับสลากแบ่งสาย
แก้ทั้ง 16 ทีม ที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย แบ่งเป็น 4 กลุ่มกลุ่มละ 4 ทีม ได้มีการจับสลากแบ่งสายขึ้น เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2558 ที่ โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน โดยการแข่งขัน ผู้ที่ได้อันดับที่ 1 กับอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่มจะเข้ารอบก่อนรองชนะเลิศ[2] ทั้งนี้ ก่อนการแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4 จากเดิมทั้งประเภททีมชายและทีมหญิง มีทีมส่งเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 22 ประเทศ 32 ทีม แต่ปรากฏว่า ประเภททีมชาย จากเดิม มี 16 ทีม ได้มีประเทศแจ้งขอถอนตัว 5 ทีมได้แก่ ยูเครน สวีเดน เบลเยียม ตุรกี และ เวเนซุเอลา ทำให้เหลือทีมเข้าร่วมการแข่งขันเพียง 11 ทีมเท่านั้น จึงต้องมีการจับสลากแบ่งสายการแข่งขันใหม่ แบ่งออกเป็น 2 สาย[3]
ทีมหญิง
แก้โหลที่ 1 (ทีมวาง) | โหลที่ 2 (ยูฟ่า) | โหลที่ 3 (AFC, CONMEBOL) |
---|---|---|
สเปน |
ทีมชาย
แก้- การจัดลำดับทีมวาง ครั้งที่ 1
โหลที่ 1 (ทีมวาง) | โหลที่ 2 (ยูฟ่า) | โหลที่ 3 (AFC และ CAF) | โหลที่ 4 (CONMEBOL) |
---|---|---|---|
เบลเยียม (ถอนตัว) |
บราซิล |
- การจัดลำดับทีมวาง ครั้งที่ 2
โหลที่ 1 (ทีมวาง) | โหลที่ 2 (AFC) | โหลที่ 3 (CONMEBOL และ CAF) | โหลที่ 4 (ยูฟ่า) |
---|---|---|---|
ไทย (เจ้าภาพ) |
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้ทำการแข่งขันแบบพบกันหมดภายในกลุ่ม คัดเอาอันดับ 1 และ 2 เข้ารอบก่อนรองชนะเลิศของทีมหญิง และ รอบรองชนะเลิศของทีมชายต่อไป
ทีมหญิง
แก้กลุ่ม A | กลุ่ม B | กลุ่ม C | กลุ่ม D |
---|---|---|---|
กลุ่มเอ
แก้
กลุ่มบีแก้
|