โพธคยา หรือชาวไทยนิยมเรียก พุทธคยา เป็นพื้นที่ทางศาสนาและสถานที่จาริกแสวงบุญที่มีความเกี่ยวเนื่องจากหมู่มหาโพธิวิหาร โพธคยาตั้งอยู่ในอำเภอคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย เป็นที่รู้จักในฐานะสถานที่ตรัสรู้ของพระโคตมพุทธเจ้า พระศาสดาของศาสนาพุทธ ภายใต้ต้นโพธิ์[2] นับตั้งแต่ในอดีต โพธคยาได้สถานะเป็นสถานที่ทางศาสนาต่อทั้งชาวฮินดูและชาวพุทธมาตลอด[3]

โพธคยา

พุทธคยา
เมือง
มหาพุทธรูป
โพธคยาตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
โพธคยา
โพธคยา
โพธคยาตั้งอยู่ในรัฐพิหาร
โพธคยา
โพธคยา
พิกัด: 24°41′42″N 84°59′29″E / 24.695102°N 84.991275°E / 24.695102; 84.991275พิกัดภูมิศาสตร์: 24°41′42″N 84°59′29″E / 24.695102°N 84.991275°E / 24.695102; 84.991275
ประเทศ อินเดีย
รัฐพิหาร
อำเภอคยา
พื้นที่(2015) [A 1]
 • City20.2 ตร.กม. (7.8 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2018)
 • ทั้งหมด48,184 คน
ภาษา
 • ทางการภาษาฮินดี
เขตเวลาUTC+5:30 (IST)
PIN824231
ทะเบียนพาหนะBR-02
  1. Constituents of Bodh Gaya Plannina area are Bodh Gaya Nagar Panchayat, 32 villages in Bodh Gaya CD block and 3 villages in Gaya CD block of Gaya district.[1]

สำหรับชาวพุทธ โพธคยาเป็นแหล่งจาริกแสวงบุญสำคัญสี่แห่ง (สังเวชนียสถาน)[4] อีกสามแห่งได้แก่ กุสินารา, ลุมพินี และ สารนาถ ในปี 2002 มหาโพธิวิหารซึ่งตั้งอยู่ในเมืองโพธคยาได้รับสถานะเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก[5]

อ้างอิง แก้

  1. "पत्रांक-213 : राजगीर क्षेत्रीय आयोजना क्षेत्र एवं बोधगया आयोजना क्षेत्र के सीमांकन एवं घोषणा" (PDF). Urban Development Housing Dept., Government of Bihar, Patna. 15 เมษายน 2015. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 18 มิถุนายน 2015. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2015.
  2. Gopal, Madan (1991). K.S. Gautam (บ.ก.). India through the ages. Publication Division, Ministry of Information and Broadcasting, Government of India. p. 176.
  3. Kinnard, Jacob. "When Is The Buddha Not the Buddha? The Hindu/Buddhist Battle over Bodhgayā and Its Buddha Image". Journal of the American Academy of Religion: 817. ISSN 0002-7189.
  4. "Buddhist Pilgrimage". Asia.
  5. "มติที่รับรองโดยที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยที่ 26" (PDF). คณะกรรมการมรดกโลก. p. 62. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2015. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2006.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้