หอสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วงโดยใช้อินเตอร์เฟอโรมิเตอร์ชนิดเลเซอร์ (อังกฤษ: Laser Interferometer Gravitational-Wave Observatory) หรือเรียกโดยย่อว่า ไลโก (LIGO) เป็นโครงการทดลองทางฟิสิกส์ขนาดใหญ่เพื่อสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วง ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2535 โดยคิป ธอร์น และโรนัลด์ เดรเวอร์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย และเรนเนอร์ ไวส์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลก โดยหนึ่งในนั้นมีคนไทยเข้าร่วม 2 คน คือ น.ส.ณัฐสินี กิจบุญชู และ ดร.ธารา เฉลิมทรงศักดิ์ โครงการนี้อยู่ภายใต้การบริหารงานโดยองค์กรความร่วมมือวิทยาศาสตร์ไลโก เพื่อสังเกตการณ์และวิเคราะห์ผลจากข้อมูลที่ได้เพื่อใช้คลื่นความโน้มถ่วงนี้ในทางดาราศาสตร์ ไลโกได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากสภาสนับสนุนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งสหราชอาณาจักร สมาคมมักซ์พลังค์แห่งเยอรมนี และสภาวิจัยแห่งออสเตรเลีย[1][2]

หอสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วงโดยใช้อินเตอร์เฟอโรมิเตอร์ชนิดเลเซอร์
ชื่ออื่นไลโก
ที่ตั้งHanford Site, Washington and Livingston, Louisiana, US
พิกัดLIGO Hanford Observatory: 46°27′18.52″N 119°24′27.56″W / 46.4551444°N 119.4076556°W / 46.4551444; -119.4076556 (LIGO Hanford Observatory)
LIGO Livingston Observatory: 30°33′46.42″N 90°46′27.27″W / 30.5628944°N 90.7742417°W / 30.5628944; -90.7742417 (LIGO Livingston Observatory)
องค์กรLIGO Scientific Collaboration
ความยาวคลื่น43 km (7.0 kHz)–10,000 km (30 Hz)
สร้างเมื่อ1994–2002
แสงแรก23 สิงหาคม ค.ศ. 2002 (2002-08-23)
ชนิดของกล้องหอดูดาวคลื่นโน้มถ่วง
ยาว4,000 เมตร (13,123.4 ฟุต)
เว็บไซต์www.ligo.caltech.edu
ไลโกตั้งอยู่ในสหรัฐ
LIGO Livingston Observatory
LIGO Livingston Observatory
LIGO Hanford Observatory
LIGO Hanford Observatory
LIGO observatories in the Contiguous United States

หมายเหตุ แก้

  1. "Major research project to detect gravitational waves is underway". University of Birmingham News. University of Birmingham. สืบค้นเมื่อ 28 November 2015.
  2. Shoemaker, David (2012). "The evolution of Advanced LIGO" (PDF). LIGO Magazine (1): 8.

อ้างอิง แก้

  • Kip Thorne, ITP & Caltech. Spacetime Warps and the Quantum: A Glimpse of the Future. Lecture slides and audio
  • Rainer Weiss, Electromagnetically coupled broad-band gravitational wave antenna เก็บถาวร 2011-07-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, MIT RLE QPR 1972
  • On the detection of low frequency gravitational waves, M.E.Gertsenshtein and V.I.Pustovoit – JETP Vol.43 p. 605-607 (August 1962) Note: This is the first paper proposing the use of interferometers for the detection of gravitational waves.
  • Wave resonance of light and gravitational waves – M.E.Gertsenshtein – JETP Vol.41 p. 113-114 (July 1961)
  • Gravitational electromagnetic resonance, V.B.Braginskii, M.B.Mensky – GR.G. Vol.3 No.4 p. 401-402 (1972)
  • Gravitational radiation and the prospect of its experimental discovery, V.B.Braginsky – Soviet Physics Vol.86 p. 433-446 (July 1965)
  • On the electromagnetic detection of gravitational waves, V.B.Braginsky, L.P.Grishchuck, A.G.Dooshkevieh, M.B.Mensky, I.D.Novikov, M.V.Sazhin and Y.B.Zeldovisch – GR.G. Vol.11 No.6 p. 407-408 (1979)
  • On the propagation of electromagnetic radiation in the field of a plane gravitational wave, E.Montanari – gr-qc/9806054 (June 11, 1998)

อ่านเพิ่มเติม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้