ไทโอยูเรีย (Thiourea; สูตรโครงสร้าง: SC(NH2)2) เป็นสารอินทรีย์ที่มีกำมะถันหรือออร์กาโนซัลเฟอร์ชนิดหนึ่ง โครงสร้างคล้ายกับยูเรีย ยกเว้นออกซิเจนอะตอมหนึ่งของยูเรียถูกแทนที่ด้วยกำมะถัน การออกฤทธิ์ของสารทั้งสองต่างกันมาก โดยไทโอยูเรียจะใช้เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สารเคมี ไทโอยูเรียมักจะหมายถึงกลุ่มของสารเคมีที่มีโครงสร้างทั่วไปเป็น (R1R2N)(R3R4N)C=S ไทโอยูเรียมีความเกี่ยวข้องกับไทโอเอมีนเมื่อ เช่น RC(S)NR2, เมื่อ R เป็น หมู่เมทิล, หมู่เอทิล

ไทโอยูเรีย
ชื่อ
Preferred IUPAC name
Thiourea[1]
ชื่ออื่น
Thiocarbamide
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
605327
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.000.494 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
1604
KEGG
RTECS number
  • YU2800000
UNII
UN number 2811
  • InChI=1S/CH4N2S/c2-1(3)4/h(H4,2,3,4) checkY
    Key: UMGDCJDMYOKAJW-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/CH4N2S/c2-1(3)4/h(H4,2,3,4)
    Key: UMGDCJDMYOKAJW-UHFFFAOYAJ
  • C(=S)(N)N
คุณสมบัติ
CH4N2S
มวลโมเลกุล 76.12 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งสีขาว
ความหนาแน่น 1.405 g/mL
จุดหลอมเหลว 182 องศาเซลเซียส (360 องศาฟาเรนไฮต์; 455 เคลวิน)
142 g/L (25 °C)
−4.24×10−5 cm3/mol
ความอันตราย
GHS labelling:
The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The health hazard pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The environment pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
เตือน
H302, H351, H361, H411
P201, P202, P264, P270, P273, P281, P301+P312, P308+P313, P330, P391, P405, P501
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 3: Short exposure could cause serious temporary or residual injury. E.g. chlorine gasFlammability 1: Must be pre-heated before ignition can occur. Flash point over 93 °C (200 °F). E.g. canola oilInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
3
1
0
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
ยูเรีย
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
โครงสร้างทั่วไปของไทโอยูเรีย

การใช้ประโยชน์ แก้

ในทางการเกษตร ไทโอยูเรียจัดเป็นสารสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์กระตุ้นการงอกของเมล็ดและเร่งการออกดอกและการแตกตาอ่อน เช่น เมื่อแช่ในในไทโอยูเรีย จะกระตุ้นการงอกของเมล็ดมะเขือเปราะ[2] และเมื่อยดูก[3]การฉีดพ่นสารละลายไทโอยูเรียทางใบช่วยให้ส้มโอออกดอกได้มากขึ้น[4] และกระตุ้นการแตกตาในเงาะโรงเรียน[5]

อ้างอิง แก้

  1. Favre, Henri A.; Powell, Warren H. (2014). Nomenclature of Organic Chemistry: IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013 (Blue Book). Cambridge: Royal Society of Chemistry. pp. 98, 864. doi:10.1039/9781849733069. ISBN 9780854041824. OCLC 1077224056.
  2. ณิฏฐ์ศิริ สุยสุวรรณ และ ภัญชนา มีแก้วกุญชร. 2536. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการงอกและผลผลิตของมะเขือเปราะ. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31, 3-6 กุมภาพันธ์ 2536
  3. ภูวดล บุตรรัตน์ และ อาคม วังเมือง. 2550. ผลของอุณหภูมิและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชบางชนิดที่มีต่อการเจริญของเอ็มบริโอและการงอกของเมล็ดพืชสกุลนีตั้ม. การประชุมวิชาการนเรศวรวิจัยครั้งที่ 3. 28 -29 กรกฎาคม 2550 มหาวิทยาลัยนเรศวร. 9 หน้า
  4. รุ่งนภา ทวนทอง และ วิจิตร วรรณชิต. 2551. ผลของสารพาโคลบิวทราโซลและไทโอยูเรียต่อการออกดอกและติดผลของส้มโอพันธุ์หอมหาดใหญ่. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 39 (3) (พิเศษ), 74 - 77
  5. ศิราณี ศรีวิเชียร สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง และสุรพล ฐิติธนากุล. 2551. ผลของสารไทโอยูเรียต่อการแตกตาของเงาะพันธุ์โรงเรียน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 39 (3), (พิเศษ), 69 -72

อ่านเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้