ไทยลีก ฤดูกาล 2562 หรือ โตโยต้า ไทยลีก ฤดูกาล 2562 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ โตโยต้า เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกฤดูกาลที่ 23 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย โดยมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 16 สโมสร ซึ่งลดลงจาก 18 สโมสรในฤดูกาลที่ผ่านมา และเป็นฤดูกาลแรกที่มีสโมสรเข้าแข่งขันจำนวน 16 สโมสรนับตั้งแต่ฤดูกาล 2553 โดยมีบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดเป็นแชมป์เก่าจากฤดูกาลที่แล้ว และมีสโมสรที่เข้าร่วมลีกสูงสุดเป็นครั้งแรกสองสโมสรได้แก่ ตราด[1]และเชียงใหม่[2] การแข่งขันนัดแรกได้เริ่มต้นในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562[3] และฤดูกาลนี้จะเป็นฤดูกาลแรกที่ใช้วีเออาร์ แต่มีปัญหาบางอย่างที่ไม่ทราบได้ทำให้ถูกพักอย่างไม่มีกำหนด

ไทยลีก
ฤดูกาล2562
วันที่22 กุมภาพันธ์ 2562 – 26 ตุลาคม 2562
ทีมชนะเลิศเชียงราย ยูไนเต็ด
ตกชั้นชัยนาท ฮอร์นบิล
เชียงใหม่
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกเชียงราย ยูไนเต็ด
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
จำนวนนัด240
จำนวนประตู648 (2.7 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดลอนซานา ดูมบูยา
(20 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6–0 ราชบุรี มิตรผล
(17 สิงหาคม 2562)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 0–3 สมุทรปราการ ซิตี้
(11 พฤษภาคม 2562)
สมุทรปราการ ซิตี้ 0–3 พีทีที ระยอง
(13 กรกฎาคม 2562)
สมุทรปราการ ซิตี้ 0–3 เชียงราย ยูไนเต็ด
(11 สิงหาคม 2562)
จำนวนประตูสูงสุดชลบุรี 7–5 เชียงใหม่
(21 เมษายน 2562) สถิติสูงสุดตลอดกาลของไทยลีก (12 ประตู)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
การท่าเรือ
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
11 นัด
เชียงราย ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
8 นัด
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
4 นัด
เชียงใหม่
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
สมุทรปราการ ซิตี้
ตราด
จำนวนผู้ชมสูงสุด32,538 คน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–1 การท่าเรือ
(20 ตุลาคม 2562)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด443 คน
เชียงใหม่ 1–3 ตราด
(18 สิงหาคม 2562)
จำนวนผู้ชมรวม1,367,681 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย5,699 คน
2561
2563

เชียงราย ยูไนเต็ด ได้แชมป์ไทยลีกเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร นอกจากนี้ ฤดูกาลนี้ยังเป็นฤดูกาลแรกนับตั้งแต่ปี 2550 ที่สโมสรอื่นนอกเหนือจากบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดและเมืองทอง ยูไนเต็ด ได้แชมป์ไทยลีก

สโมสร แก้

การเปลี่ยนแปลงสโมสรจากฤดูกาลที่แล้ว แก้

ทั้งหมด 16 สโมสรที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลนี้ โดยแบ่งเป็น 13 สโมสร จากไทยลีก ฤดูกาล 2561 และ 3 สโมสรอันดับแรกจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2561

ตกชั้นสู่ไทยลีก 2 แก้

แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด อดีตแชมป์ไทยลีก 2 สมัย ตกชั้นเป็นทีมแรกในฤดูกาล 2561 ในนัดที่แพ้ชลบุรี 1–2 เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยแอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ขึ้นชั้นมาเล่นในฤดูกาล 2561 เพียงฤดูกาลเดียว[4]

อุบล ยูไนเต็ด เป็นสโมสรที่ 2 ที่ตกชั้นจากไทยลีก ฤดูกาล 2561 หลังจากเสมอกับสุพรรณบุรี 2–2 เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2561 ยุติการลงเล่นในลีกสูงสุดหลังจากขึ้นชั้นมาเล่น 2 ฤดูกาล[5]

ราชนาวี เป็นสโมสรที่ 3 ที่ตกชั้น หลังจากเสมอกับสิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 2–2 เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยเป็นการตกชั้นครั้งที่ 6 ของสโมสร[6]

โปลิศ เทโร อดีตแชมป์ไทยลีก 2 สมัย เป็นสโมสรที่ 4 ที่ตกชั้น หลังจากแพ้ราชนาวี 4–2 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็นการตกชั้นครั้งแรกในรอบ 22 ปี และครั้งแรกในประวัติศาสตร์สโมสรที่ตกชั้นไปเล่นไทยลีก 2 อีกด้วย[7]

บีจีพียู เป็นสโมสรสุดท้ายที่ตกชั้น หลังจากแพ้นครราชสีมา มาสด้า 1–2 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ยุติการลงเล่นบนลีกสูงสุดในรอบ 10 ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสร[8]

เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก แก้

พีทีที ระยอง เป็นสโมสรแรกที่ได้เลื่อนชั้น ในนัดที่เสมอเชียงใหม่ 1–1 เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยเป็นการกลับขึ้นมาเล่นบนไทยลีกอีกครั้งหลังจากฤดูกาล 2557[9]

ตราด เป็นสโมสรที่ 2 ที่ได้เลื่อนชั้น หลังจากชนะระยอง 2–1 เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สโมสรที่ได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยลีกหลังจากก่อตั้งสโมสรมา 7 ปี[10]

เชียงใหม่ เป็นสโมสรสุดท้ายที่ได้เลื่อนชั้น หลังจากเสมอขอนแก่น 2–2 เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยลีกเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สโมสรนับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสรมา 20 ปี[11]

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว แก้

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2561
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) แพตสเตเดียม 8,000 3
ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรีสเตเดียม 8,600 9
ชัยนาท ฮอร์นบิล ชัยนาท เขาพลองสเตเดียม 8,625 13
เชียงใหม่ เชียงใหม่ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี 25,000 3 (ไทยลีก 2)
เชียงราย สิงห์ สเตเดียม 13,000
ตราด ตราด สนามกีฬากลางจังหวัดตราด 5,000 2 (ไทยลีก 2)
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี (คลองหลวง) สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต 19,375 2
นครราชสีมา มาสด้า นครราชสีมา สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 25,000 7
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ช้างอารีนา 32,600 1
พีที ประจวบ ประจวบคีรีขันธ์ สามอ่าวสเตเดียม 5,000 6
พีทีที ระยอง ระยอง พีทีทีสเตเดียม 12,161 1 (ไทยลีก 2)
ราชบุรี มิตรผล ราชบุรี มิตรผลสเตเดียม 10,000 12
สมุทรปราการ ซิตี้ สมุทรปราการ (บางพลี) สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย บางพลี 5,100 8 (ในชื่อพัทยา ยูไนเต็ด)
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย สิงห์ สเตเดียม 13,000 5
สุโขทัย สุโขทัย ทะเลหลวงสเตเดียม 8,000 11
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสุพรรณบุรี 15,279 10
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี (ปากเกร็ด) เอสซีจีสเตเดียม 13,000 4

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน แก้

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
การท่าเรือ   โชคทวี พรหมรัตน์   ศิวกร จักขุประสาท[a] แกรนด์สปอร์ต เมืองไทยประกันภัย, เมืองไทยประกันชีวิต2
ชลบุรี   สะสม พบประเสริฐ   เกริกฤทธิ์ ทวีกาญจน์ ไนกี้ ช้าง, ไดกิน1, แอร์เอเชีย2, เอไอเอ2
ชัยนาท ฮอร์นบิล   เดนนิส อามาโต   ปริญญา อู่ตะเภา วอริกซ์ วังขนาย, ลีโอ2, ดูคาติ2
เชียงใหม่   สุรพงษ์ คงเทพ   สุวรรณภัทร กิ่งแก้ว โวลต์ ลีโอ, บางกอกแอร์เวย์1, เมืองไทยประกันชีวิต2
ตราด   พยงค์ ขุนเณร   พิชิต ใจบุญ แกรนด์สปอร์ต ซีพี, บางกอกแอร์เวย์1
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด   อาเลชังดรี ปอลกิง   แอนโธนี อำไพพิทักษ์วงศ์ อาริ ทรู, หัวเว่ย, ไดกิน1, ซีพี2
นครราชสีมา มาสด้า   เฉลิมวุฒิ สง่าพล   เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว เวอร์ซุส มาสด้า, จีเอสแบตเตอรี1, ซีพี2, ลีโอ2
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด   โบซีดาร์ บันโดวิช   สุเชาว์ นุชนุ่ม อาริ ช้าง, โคคา-โคล่า1, ซีพี2, เมืองไทยประกันชีวิต2
พีที ประจวบ   ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล   อดุลย์ หมื่นสมาน วอริกซ์ พีที, ลีโอ2
พีทีที ระยอง   ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น   อภิภู สุนทรพนาเวศ วอริกซ์ ปตท., คาเฟ่ อเมซอน2
ราชบุรี มิตรผล   สมชาย ไม้วิลัย (รักษาการ)   ชุติพนธ์ ทองแท้ มิตรผล, คูโบต้า1, เอไอเอ2
สมุทรปราการ ซิตี้   เท็ตซูยะ มูรายามะ   พีรดนย์ ฉ่ำรัศมี อาริ ซันวา, กุ๊ก1, แอร์เอเชีย2
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด   ไอล์ตง ซิลวา   ธนะศักดิ์ ศรีใส เอฟบีที ลีโอ, บางกอกแอร์เวย์, บีจีเอฟ2
สุโขทัย   ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก   จอห์น บักจีโอ มาวิน ช้าง, เซเว่น อีเลฟเว่น1, บางกอกแอร์เวย์1
สุพรรณบุรี   อเดบาโย กาเดโบ   อดุล หละโสะ วอริกซ์ ช้าง, ทรู1
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด   อาเลชังดรี กามา   ธีรศิลป์ แดงดา แกรนด์สปอร์ต เอสซีจี, ยามาฮ่า, โคคา-โคล่า1, ลีโอ2
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง
  1. เนื่องจากดาบิด โรเชลา กัปตันทีม ไม่ได้ลงทะเบียนเป็นผู้เล่นในการแข่งขันไทยลีก[12]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม แก้

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ตราด   ดุสิต เฉลิมแสน ความยินยอมร่วมกัน 9 ตุลาคม 2561 ก่อนเปิดฤดูกาล   พยงค์ ขุนเณร 15 ตุลาคม 2561[13]
สุโขทัย   เฉลิมวุฒิ สง่าพล 10 ตุลาคม 2561   ลูโบเมียร์ ริสตอฟสกี 1 พฤศจิกายน 2561
ราชบุรี มิตรผล   ลาสซาอัด ชับบี หมดสัญญา 30 พฤศจิกายน 2561   มานูเอล มาร์เกซ โรกา 18 ธันวาคม 2561[14]
ราชบุรี มิตรผล   มานูเอล มาร์เกซ โรกา ลาออก 22 มกราคม 2562[15]   ฟรันเชสก์ บอช 29 มกราคม 2562[16]
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด   โชเซ เอาวีส บอร์จีส ความยินยอมร่วมกัน 11 กุมภาพันธ์ 2562[17]   ไอล์ตง ซิลวา 11 กุมภาพันธ์ 2562[17]
ราชบุรี มิตรผล   ฟรันเซสก์ บอช 23 มีนาคม 2562[18] อันดับที่ 13   มาร์โก ซีโมเน 25 มีนาคม 2562[19]
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด   ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก ลาออก 31 มีนาคม 2562[20] อันดับที่ 10   อุทัย บุญเหมาะ 1 เมษายน 2562
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด   อุทัย บุญเหมาะ สิ้นสุดการรักษาการ 8 เมษายน 2562[21] อันดับที่ 15   ยุน จง-ฮวัน 8 เมษายน 2562[21]
สมุทรปราการ ซิตี้   สุรพงษ์ คงเทพ ลาออก 29 พฤษภาคม 2562[22] อันดับที่ 3   เท็ตซูยะ มูรายามะ 14 มิถุนายน 2562[23]
ชลบุรี   จักรพันธ์ ปั่นปี 31 พฤษภาคม 2562[24] อันดับที่ 10   สะสม พบประเสริฐ 3 มิถุนายน 2562[25]
สุพรรณบุรี   ธชตวัน ศรีปาน 2 มิถุนายน 2562[26] อันดับที่ 16   อเดบาโย กาเดโบ 8 มิถุนายน 2562[27]
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด   ยุน จง-ฮวัน ความยินยอมร่วมกัน 12 มิถุนายน 2562[28] อันดับที่ 15   อาเลชังดรี กามา 13 มิถุนายน 2562[29]
เชียงใหม่   การ์ลุส เอดูอาร์ดู เปย์ไรรา 28 มิถุนายน 2562[30] อันดับที่ 15   สุรพงษ์ คงเทพ 28 มิถุนายน 2562[31]
ราชบุรี มิตรผล   มาร์โก ซีโมเน ลาออก 14 กรกฎาคม 2562[32] อันดับที่ 10   สมชาย ไม้วิลัย 14 กรกฎาคม 2562
การท่าเรือ   จเด็จ มีลาภ เปลี่ยนตำแหน่งเป็นประธานเทคนิค 21 กรกฎาคม 2562[33] อันดับที่ 5   โชคทวี พรหมรัตน์ 21 กรกฎาคม 2562
สุโขทัย   ลูโบเมียร์ ริสตอฟสกี ไล่ออก 1 สิงหาคม 2562[34] อันดับที่ 12   ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก 2 สิงหาคม 2562[35]
นครราชสีมา มาสด้า   มีลอช ยอกซิช ลาออก 26 สิงหาคม 2562[36] อันดับที่ 12   เฉลิมวุฒิ สง่าพล 26 สิงหาคม 2562[36]

การเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ทีม แก้

ตารางคะแนน แก้

อันดับ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 30 16 10 4 53 28 +25 58[a] เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบแบ่งกลุ่ม
2 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 30 16 10 4 51 25 +26 58[a] เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกรอบที่ 2
3 การท่าเรือ 30 15 8 7 55 36 +19 53 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกรอบที่ 2[b]
4 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 30 13 11 6 55 32 +23 50
5 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 30 14 4 12 45 42 +3 46
6 สมุทรปราการ ซิตี้ 30 12 7 11 44 50 −6 43
7 ชลบุรี 30 11 7 12 43 45 −2 40
8 ราชบุรี มิตรผล 30 10 8 12 48 48 0 38
9 พีที ประจวบ 30 9 10 11 32 44 −12 37
10 ตราด 30 9 8 13 47 47 0 35[c]
11 พีทีที ระยอง 30 9 8 13 33 46 −13 35[c] ขอพักทีม
12 สุโขทัย 30 6 16 8 37 37 0 34[d]
13 นครราชสีมา มาสด้า 30 9 7 14 45 51 −6 34[d]
14 สุพรรณบุรี 30 7 11 12 29 44 −15 32
15 ชัยนาท ฮอร์นบิล 30 8 6 16 31 50 −19 30 ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563
16 เชียงใหม่ 30 7 7 16 39 62 −23 28
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 26 ตุลาคม 2562. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. คะแนนแฟร์เพลย์ 6. เพลย์ออฟไม่ต่อเวลาพิเศษ ดวลจุดโทษทันทีถ้าเสมอ[38]
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 เชียงราย ยูไนเต็ด มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด: บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 0–0 เชียงราย ยูไนเต็ด, เชียงราย ยูไนเต็ด 4–0 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
  2. การท่าเรือ ได้เข้าแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกรอบที่ 2 ในฐานะทีมที่ชนะเลิศ ช้าง เอฟเอคัพ 2562
  3. 3.0 3.1 ตราด มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า พีทีที ระยอง: พีทีที ระยอง 2–3 ตราด, ตราด 0–0 พีทีที ระยอง
  4. 4.0 4.1 สุโขทัย มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า นครราชสีมา: สุโขทัย 1–0 นครราชสีมา, นครราชสีมา 2–4 สุโขทัย


อันดับตามสัปดาห์ แก้

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ทีม / สัปดาห์123456789101112131415161718192021222324252627282930
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด586211222232211111112111121112
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด732647565674332243345444444444
การท่าเรือ1251353111111123555553333333233
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด1515981015151616161616151614131212976666655555
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด114791312333323565432421222212321
พีที ประจวบ425122447568898910101213141413121199999
นครราชสีมา มาสด้า374536776756777778101110111111121212121213
สมุทรปราการ ซิตี้213494654445444324234555566666
ชลบุรี614151615101088810911810899119777781177
สุพรรณบุรี10111171114161214141313161516151616151515151515141513131314
สุโขทัย810101065891010111011129111313131412121213131314141412
ราชบุรี มิตรผล161213913141112119119101110111181099810978888
ชัยนาท ฮอร์นบิล998141611121011121215121312141414141213131414151415151515
พีทีที ระยอง16161312889131313141413111312866681010910811111111
ตราด14141415121613149987656667781189871010101010
เชียงใหม่13131611149111515151512141415161515161616161616161616161616
ผู้นำในสัปดาห์และได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบแบ่งกลุ่ม
ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกรอบที่ 2
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563
อ้างอิง: ไทยลีก (T1)

ผลการแข่งขัน แก้

เหย้า / เยือน PRT CHO CNH CHM TRA BKU NRM BRU PRA PTT RBM SPC CRU SKT SUP MTU
การท่าเรือ 2–2 4–0 3–1 4–1 1–1 3–0 1–3 5–0 1–1 1–0 2–2 1–4 1–0 3–2 2–0
ชลบุรี 2–3 1–2 7–5 3–3 2–1 2–1 1–0 3–2 3–0 1–0 0–2 0–2 2–2 0–0 2–0
ชัยนาท ฮอร์นบิล 0–3 1–0 2–2 3–2 2–1 1–3 2–1 1–1 1–2 0–3 2–3 1–1 1–0 0–0 3–0
เชียงใหม่ 0–2 2–1 2–2 1–3 1–1 5–1 1–1 1–0 0–2 2–1 2–2 0–1 0–0 0–1 1–1
ตราด 1–2 1–1 2–2 4–0 0–1 2–1 0–1 0–0 0–0 0–1 1–1 3–1 2–0 4–0 3–4
ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด 2–0 2–4 2–0 2–0 2–1 2–2 0–1 6–1 4–0 2–0 2–1 1–1 2–2 4–0 1–0
นครราชสีมา มาสด้า 1–1 4–0 2–1 4–2 0–0 1–1 2–3 3–1 0–1 3–3 4–1 1–2 2–4 1–1 3–1
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–1 2–2 1–0 4–0 1–1 1–1 2–0 2–0 5–0 6–0 3–2 0–0 1–1 0–0 1–0
พีที ประจวบ 1–1 0–2 3–1 2–0 2–3 1–0 1–0 1–1 2–0 2–2 2–0 0–0 1–1 2–1 1–2
พีทีที ระยอง 1–0 1–0 1–2 2–3 2–3 1–4 0–1 0–1 3–1 1–3 2–1 2–2 0–0 2–0 2–2
ราชบุรี มิตรผล 1–1 2–0 2–1 4–1 3–2 2–2 2–3 1–2 0–1 1–1 5–2 0–2 2–2 3–0 2–0
สมุทรปราการ ซิตี้ 2–1 1–0 1–0 3–2 2–3 1–1 2–0 1–4 1–1 0–3 2–1 0–3 0–0 2–3 2–1
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 0–0 1–0 1–0 2–1 3–1 1–3 1–1 4–0 4–1 1–0 1–1 1–1 1–1 3–1 2–3
สุโขทัย 3–1 0–0 2–0 1–2 2–1 1–1 1–0 1–1 1–1 3–1 2–2 1–2 2–3 1–1 2–3
สุพรรณบุรี 1–3 3–0 1–0 1–2 1–0 1–1 3–1 0–0 1–1 0–0 3–0 0–1 2–5 1–1 0–0
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 1–2 0–2 3–0 2–0 3–0 3–2 2–0 3–1 0–1 2–2 2–1 0–3 1–0 2–0 4–1
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 26 ตุลาคม 2562. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ
อักษร "a" สำหรับการแข่งขันที่ยังไม่เกิดขึ้นหมายความว่ามีบทความเกี่ยวกับการแข่งขันนัดนี้

สถิติ แก้

ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2562

การทำประตู แก้

ผู้ทำประตูสูงสุด แก้

อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1   ลอนซานา ดูมบูยา ตราด 20
2   เนลซอน โบนิยา ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 16
3   ลีอังดรู อัสซัมเซา นครราชสีมา มาสด้า 15
  อิบซง แมลู สมุทรปราการ ซิตี้ 15
5   โรซิมาร์ อามันซีโอ สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 13
  ไคอง ชลบุรี (7 ประตู)
พีที ประจวบ (6 ประตู)
  เอเบร์ชี เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
  อ็องรี ดูมบีอา นครราชสีมา มาสด้า
9   เอลียังดรู เชียงใหม่ 12
  อียานิก บอลี ราชบุรี มิตรผล
11   ลูเคียน ชลบุรี 11

แฮตทริก แก้

 
อียานิก บอลี เป็นผู้เล่นคนที่ 6 ที่ทำแฮตทริกได้ในนัดเปิดสนามของไทยลีก
ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่ นัดที่
  อียานิก บอลี ราชบุรี มิตรผล ตราด 3–2 (H) 22 กุมภาพันธ์ 2562 1
  ลูเคียน5 ชลบุรี เชียงใหม่ 7–5 (H) 21 เมษายน 2562 8
  ลีอังดรู อัสซัมเซา นครราชสีมา มาสด้า ชลบุรี 4–0 (H) 28 เมษายน 2562 9
  เนลซอน โบนิยา ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด พีที ประจวบ 6–1 (H) 28 เมษายน 2562 9
  บีรัม ดียุฟ ตราด ชลบุรี 3–3 (A) 11 พฤษภาคม 2562 10
หมายเหตุ

4 ผู้เล่นทำประตู 4 ประตู ; 5 ผู้เล่นทำประตู 5 ประตู ; (H) – เล่นเป็นทีมเหย้า, (A) – เล่นเป็นทีมเยือน

คลีนชีตส์ แก้

 
ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน เก็บคลีนชีตส์มากสุดที่ 14 ครั้ง
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1   ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 14
2   พีระพงษ์ เรือนนินทร์ พีทีที ระยอง 11
3   อภิรักษ์ วรวงษ์ สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 10
  สินทวีชัย หทัยรัตนกุล ชลบุรี
5   ดั่ง วัน เลิม เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 7
  ขวัญชัย สุขล้อม พีที ประจวบ
7   กิตติคุณ แจ่มสุวรรณ สุโขทัย 6
  ปฏิวัติ คำไหม สมุทรปราการ ซิตี้
  ไมเคิล ฟาลเคสการ์ด ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
  วรวุฒิ ศรีสุภา การท่าเรือ

ระเบียบวินัย แก้

 
สรรวัชญ์ เดชมิตร ได้รับใบแดงมากสุดที่ 2 ใบ

ผู้เล่น แก้

สโมสร แก้

  • ใบเหลืองมากที่สุด: 66[39]
    • ชลบุรี
  • ใบแดงมากที่สุด: 3[39]
    • การท่าเรือ
    • ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด

รางวัล แก้

รางวัลประจำเดือน แก้

เดือน ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือน ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือน อ้างอิง
ผู้จัดการทีม สโมสร ผู้เล่น สโมสร
มีนาคม   ลูโบเมียร์ ริสตอฟสกี สุโขทัย   เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว นครราชสีมา มาสด้า [40]
เมษายน   จเด็จ มีลาภ การท่าเรือ   บดินทร์ ผาลา การท่าเรือ [41]
พฤษภาคม   พยงค์ ขุนเณร ตราด   ลอนซานา ดูมบูยา ตราด [42]
มิถุนายน   อาเลชังดรี ปอลกิง ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด   ปฏิวัติ คำไหม สมุทรปราการ ซิตี้ [43]
กรกฎาคม   อาเลชังดรี กามา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด   เอเบร์ชี เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด [44]
สิงหาคม   ไอล์ตง ซิลวา สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด   บรินเนร์ เอนรีเก สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด [45]
กันยายน   โชคทวี พรหมรัตน์ การท่าเรือ   อัดนัน ออราฮอวัช พีที ประจวบ [46]
ตุลาคม   สุรพงษ์ คงเทพ เชียงใหม่   พิธิวัต สุขจิตธรรมกุล สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด [47]

ผู้ชม แก้

สถิติผู้ชมทั้งหมด แก้

อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 203,374 32,538 7,597 13,558 +4.3%
2 นครราชสีมา มาสด้า 185,813 22,555 3,615 12,388 +69.2%
3 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 136,501 12,942 5,452 9,100 +15.0%
4 สุพรรณบุรี 97,656 13,655 2,339 6,531 +22.6%
5 การท่าเรือ 76,312 7,960 2,478 5,087 +27.6%
8 ชลบุรี 71,345 8,450 1,845 4,756 +10.5%
7 ราชบุรี มิตรผล 73,134 8,415 3,397 4,876 +36.7%
9 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 65,673 15,155 1,278 4,378 +50.5%
6 เชียงราย ยูไนเต็ด 75,778 10,814 2,765 5,052 +44.1%
10 ชัยนาท ฮอร์นบิล 60,194 6,092 2,309 4,013 +31.1%
11 ตราด 59,039 4,955 2,541 3,936 +184.2%
12 พีทีที ระยอง 57,159 10,822 2,108 3,811 +99.4%
13 สุโขทัย 56,464 7,995 2,266 3,764 −18.3%
14 พีที ประจวบ 53,747 4,655 2,490 3,583 −6.7%
16 สมุทรปราการ ซิตี้ 42,950 4,932 1,429 2,863 +7.9%
15 เชียงใหม่ 42,950 12,796 443 3,488 +117.2%
รวม 1,367,681 32,538 443 5,699 +27.6%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2562
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก (T1)
หมายเหตุ:'
สโมสรที่ลงเล่นฤดูกาลก่อนหน้าในไทยลีก 2

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. ขาดอีกที่เดียว! ตราด ขึ้นไทยลีกหลังขอนแก่นแพ้ไทยฮอนด้า[ลิงก์เสีย], FourFourTwo.com, สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2561
  2. ครั้งแรกในประวัติศาสตร์! เชียงใหม่ขึ้นโตโยต้าไทยลีกทีมสุดท้าย, Goal.com, สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2561
  3. ไทยลีกแถลงขอบคุณทุกฝ่ายสำหรับฤดูกาล 2018 พร้อมชี้แจงกรณี T3-T4 และวันเปิดลีกใหม่ในฤดูกาล 2019[ลิงก์เสีย], thaileague.co.th, สืบค้นข้อมูลเมื่อ 8 ตุลาคม 2561
  4. "แอร์ฟอร์ซฯ อดีตแชมป์ไทยลีก 2 สมัย ตกชั้นทีมแรก!". Siamsport. 8 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  5. "เสมอไม่พอ! อุบลบุกเจ๊าสุพรรณฯ แต่หล่นตกชั้นตามแอร์ฟอร์ซ". Siamsport. 15 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. "ราชนาวีไม่ถอดใจแม้ตกชั้นพร้อมสร้างทีมลุยลีกพระรอง". Siamsport. 23 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  7. "ตกชั้นทีมที่4! เทโรฮึดไม่ขึ้นบุกพ่ายราชนาวี ร่วงไทยลีกในรอบ22ปี". Siamsport. 3 ตุลาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  8. "ไร้ปาฏิหาริย์! บีจี10ตัวพลาดท่าแพ้โคราช ตกชั้นทีมสุดท้าย". Siamsport. 7 ตุลาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  9. "พลังเพลิงเจ๊า1-1ฉลองเลื่อนชั้นทีมแรก,ตราดเฮยังมีลุ้น". Siamsport. 22 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  10. "OFFICIAL : ประวัติศาสตร์! ตราดผงาดเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 1 เป็นครั้งแรก". Mthai. 23 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)[ลิงก์เสีย]
  11. "วันประวัติศาสตร์! เชียงใหม่ซิวตั๋วเลื่อนชั้นโตโยต้า ไทยลีกใบสุดท้าย". Mthai. 29 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)[ลิงก์เสีย]
  12. "OFFICIAL : การท่าเรือหั่น "กัปตันโรเชลา" เปิดทางโรลันโด้". โกล ประเทศไทย. 13 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  13. "ตราดได้"พยงค์"คุมแทนโค้ชโอ่ง".
  14. "El dragón! ราชบุรี ตั้ง มาโนโล โค้ชสเปนคุมทัพ". โกล ประเทศไทย. 18 ธันวาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  15. "มังกรงง! มาโนโล เทราชบุรีหลังได้งานใหม่". โกล ประเทศไทย. 22 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  16. "OFFICIAL : คนคุ้นเคย!เสี่ยฟลุคคอนเฟิร์มตั้ง"บอช"คุมราชบุรี". โกล ประเทศไทย. 29 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  17. 17.0 17.1 "OFFICIAL: เชียงรายแยกทางบอร์จีส, ตั้ง "ไอล์ตัน" คุม". โกล ประเทศไทย. 11 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  18. "คอนเฟิร์มแล้ว "มาร์โก ซิโมเน่" คุมทัพราชบุรีฯเปิดตัว 25 มี.ค.นี้". สยามกีฬา. 23 มีนาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  19. "OFFICIAL : ประเดิมเมืองทอง!ราชบุรีเปิดตัว ซิโมเน คุมทัพ". โกล ประเทศไทย. 25 มีนาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  20. "BREAKING : ขงเบ๊แยกทางเมืองทอง , ซิโก้ ตัวเต็ง". โกล ประเทศไทย. 31 มีนาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  21. 21.0 21.1 "BREAKING : ขงเบ๊แยกทางเมืองทอง , ซิโก้ ตัวเต็ง". โกล ประเทศไทย. 8 เมษายน 2562. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  22. "งงทั้งอำเภอ! โค้ชอั๋น ขอลาออกปราการซิตี้แม้อยู่ท็อปโฟว์". โกล ประเทศไทย. 29 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  23. "OFFICIAL : คุ้นเคยกันดี! ปราการดัน มูระยามะ ขัดตาทัพ". โกล ประเทศไทย. 14 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  24. "BREAKING : โค้ชโบ้แสดงสปิริตลาเก้าอี้ฉลามชล". โกล ประเทศไทย. 31 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  25. "OFFICIAL ! ฉลามเปิดตัว โค้ชเตี้ย นั่งกุนซือ , ประเดิมงานรับกิเลน". สโมสรฟุตบอลชลบุรี. 3 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  26. "BREAKING : โค้ชแบนลาสุพรรณหลังจมบ๊วย". โกล ประเทศไทย. 2 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  27. "คนคุ้นเคย! สุพรรณ ดึง อเดบาโย่ คุมทัพรอบ2". SMM Sport. 8 มิถุนายน 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-08. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  28. "เปิดทางกามา!เมืองทองแยกทาง ยุน จอง ฮวาน". โกล ประเทศไทย. 12 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  29. "OFFICIAL : ประเดิมเยือนฉลาม!เมืองทองเปิดตัว กามา คุมทัพ". โกล ประเทศไทย. 13 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  30. "OFFICIAL: เชียงใหม่แยกทาง คาร์ลอส ก่อนดวลปราการ". โกล ประเทศไทย. 28 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  31. "OFFICIAL : ทันควัน! เชียงใหม่ตั้ง "โค้ชอั๋น" แทน คาร์ลอส". โกล ประเทศไทย. 28 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  32. "BREAKING : ซิโมเน ลาออกกุนซือราชบุรี". โกล ประเทศไทย. 14 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  33. "OFFICIAL : มาดามแป้ง ดันจเด็จขึ้นปธ.เทคนิค , ตั้งโชคกุนซือใหม่ท่าเรือ". โกล ประเทศไทย. 21 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  34. "BREAKING : สุโขทัยแยกทาง ลูโบเมียร์ รีสตอฟสกี". โกล ประเทศไทย. 1 สิงหาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  35. "งานถนัด! โค้ชเบ๊ คัมแบ็กคุม สุโขทัย หนีตกชั้นท้ายซีซั่น". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-02. สืบค้นเมื่อ 2019-08-02.
  36. 36.0 36.1 "OFFICIAL : "โจซิค" แยกทางแมวตั้ง "โค้ชหนุ่ย" กู้วิกฤต". โกล ประเทศไทย. 26 สิงหาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  37. "ปิดตำนานโลมา!เอเอฟซีรับรองชื่อใหม่ พัทยา-อุบล". Goal.com. 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  38. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 1" พ.ศ. 2562" (PDF). thaileague.co.th. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 23 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  39. 39.0 39.1 39.2 39.3 "Thai League". ไทยลีก. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-13. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  40. เดอะตุ๊กกดไลค์! "ลูโบ้-เฉลิมพงษ์" ซิวยอดเยี่ยม มี.ค โตโยต้า ไทยลีก. goal.com. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  41. ""จเด็จ" ควง "บดินทร์" คว้าโค้ช-นักเตะยอดเยี่ยมไทยลีกเดือนเมษายน".
  42. "ตราดเข้าวิน!พยงค์ควงดุมบูยา คว้ายอดเยี่ยมไทยลีก พ.ค." โกล ประเทศไทย. 25 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  43. "ไร้พ่ายทั้งคู่! "มาโน-ปฏิวัติ" คว้ายอดเยี่ยมไทยลีก มิ.ย." โกล ประเทศไทย. 19 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  44. "ที่นี่บราซิล! "เฮแบร์ตี้"ควง กามา คว้ายอดเยี่ยมไทยเดือน ก.ค." โกล ประเทศไทย. 4 สิงหาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  45. เชียงราย เหมา ! ‘ไอล์ตัน’ ควง ‘บรินเนอร์’ เหมารางวัลยอดเยี่ยมไทยลีก เดือนสิงหาคม
  46. "'โชคทวี'คว้ายอดโค้ชไทยลีกเดือนกันยายน".
  47. "'โค้ชอั๋น'คว้ารางวัลยอดเยี่ยมไทยลีก หลังดับฝัน'บุรีรัมย์'".