โยคะ (สันสกฤต: योग) เป็นกลุ่มของการปฏิบัติหรือการประพฤติทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ โดยมีต้นกำเนิดในประเทศอินเดียสมัยโบราณ โยคะมีอยู่ด้วยกันหลายสำนักซึ่งมีการปฏิบัติและเป้าหมายต่างกันไป[1] ทั้งในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน[2][3][4]

โยคะ *
  มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมโดยยูเนสโก
การปฏิบัติโยคะในรัฐอานธรประเทศ พ.ศ. 2559
ประเทศ อินเดีย
ภูมิภาค **เอเชียและแปซิฟิก
สาขาธรรมเนียมและการแสดงออกทางมุขปาฐะ, ศิลปะการแสดง, แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล, ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
เกณฑ์พิจารณาR.1, R.2, R.3, R.4, R.5
อ้างอิง01163
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2559 (คณะกรรมการสมัยที่ 11)
รายการตัวแทนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมและการสงวนรักษาที่ดี
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก
โยคั
โยคินีสองคน
โยคีและโยคินีในอินเดียสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 18

อ้างอิง แก้

  1. White 2011.
  2. Denise Lardner Carmody, John Carmody (1996), Serene Compassion. Oxford University Press US. p. 68.
  3. Stuart Ray Sarbacker, Samādhi: The Numinous and Cessative in Indo-Tibetan Yoga. SUNY Press, 2005, pp. 1–2.
  4. Tattvarthasutra [6.1], see Manu Doshi (2007) Translation of Tattvarthasutra, Ahmedabad: Shrut Ratnakar p. 102

แหล่งข้อมูลอื่น แก้