โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก

พลเอก โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก (ปัญจาบ, อูรดู: محمد ضياء الحق; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2467 – 17 สิงหาคม พ.ศ. 2531) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 6 ของประเทศปากีสถานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 จนกระทั่งถึงแก่กรรมใน พ.ศ. 2531 มีการประกาศกฎอัยการศึกเป็นครั้งที่ 3 ในประวัติศาสตร์ของประเทศในปี พ.ศ. 2520 เขาเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดของปากีสถาน ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 11 ปี เขาถูกตั้งข้อสังเกตมากที่สุดสำหรับความพยายามของเขาที่จะทำให้ประเทศปากีสถานให้เป็นรัฐอิสลามและสังคม"อิสลามานุวัฒน์" และในนโยบายด้านการต่างประเทศสำหรับความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสหรัฐอเมริกา และการสนับสนุนกลุ่มต่อต้านมูจาฮีดีนกับโซเวียตในอัฟกานิสถาน[2][3][4]

ร.ม.ภ. โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก
محمد ضیاء الحق
โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก
ประธานาธิบดีปากีสถานคนที่ 6
ดำรงตำแหน่ง
16 กันยายน ค.ศ.1978 – 17 สิงหาคม ค.ศ.1988
นายกรัฐมนตรีMuhammad Khan Junejo
ก่อนหน้าFazal Ilahi Chaudhry
ถัดไปGhulam Ishaq Khan
เสนาธิการทหารบก
ดำรงตำแหน่ง
1 มีนาคม ค.ศ.1976 – 17 สิงหาคม ค.ศ.1988
ก่อนหน้าTikka Khan
ถัดไปMirza Aslam Beg
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด12 สิงหาคม ค.ศ. 1924(1924-08-12)
Jalandhar, แคว้นปัญจาบ, บริติชราช (ปัจจุบันคือรัฐปัญจาบ)
เสียชีวิต17 สิงหาคม ค.ศ. 1988(1988-08-17) (64 ปี)
Bahawalpur, แคว้นปัญจาบ, ปากีสถาน
ที่ไว้ศพFaisal Mosque
เชื้อชาติชาวบริติชราช (1924–1947) ชาวปากีสถาน (1947–1988)
คู่สมรสBegum Shafiq Zia (1950–1988; เขาตาย)[1]
บุตร5 (รวมถึงMuhammad Ijaz-ul-Haq)
ศิษย์เก่าSt. Stephen's College, Delhi
United States Army Command and General Staff College
ชื่อเล่นMard-e-Momin
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ อินเดีย
ธงของประเทศปากีสถาน ปากีสถาน
สังกัด British Indian Army
 กองทัพบกปากีสถาน
ประจำการ1943–1988
ยศ พลเอก
หน่วย22 Cavalry, Army Armoured Corps (PA – 1810)
บังคับบัญชา2nd Independent Armoured Brigade
1st Armoured Division
II Strike Corps
Chief of Army Staff
ผ่านศึกสงครามโลกครั้งที่สอง
Indo-Pakistani War of 1965
สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน

เครื่องอิสริยาภรณ์ แก้

เครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศต่างประเทศ แก้

  •   จอร์แดน :
    • พ.ศ. 2530 –   เครื่องราชอิสริยารณ์อัลฮุเซนบินอาลี
    • พ.ศ. 2514 –   เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดาราแห่งจอร์แดน ชั้นที่ 5
    • พ.ศ. 2514 –   เครื่องราชอิสริยาภรณ์อิสติเชียล ชั้นที่ 5
  •   สหราชอาณาจักร :
    • พ.ศ. ไม่ปรากฏ –   เหรียญเบอร์มาสตาร์
    • พ.ศ. 2488 –   เหรียญวอร์ 1939 - 1945
    • พ.ศ. ไม่ปรากฏ –   เหรียญเจนนะรัลเซอวิส

อ้างอิง แก้

  1. http://www.dailytimes.com.pk/default.asp?page=2008story_16-3-2008_pg3_3 https://web.archive.org/web/20170215124259/http://www.dailytimes.com.pk/default.asp?page%3D2008%5C%5C05%5C%5C30%5C%5Cstory_30-5-2008_pg7_56&date=2009-09-04. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2017. สืบค้นเมื่อ 12 February 2017. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  2. Talbot, Ian (1998). Pakistan, a Modern History. NY: St.Martin's Press. pp. 245. Pakistan during the period 1977-1988 ... aspired to be an ideological state... the goal of an Islamic state was deemed to be its main basis.
  3. Wynbrandt, James (2009). A Brief History of Pakistan. Facts on File. p. 216. In hist first speech to the natin, Zia pledged the government would work to create a true Islamic society.
  4. Ḥaqqānī, Husain (2005). Pakistan: between mosque and military. Washington: Carnegie Endowment for International Peace. p. 131. ISBN 0-87003-214-3. สืบค้นเมื่อ 23 May 2010. Zia ul-Haq is often identified as the person most responsible for turning Pakistan into a global center for political Islam. Undoubtedly, Zia went farthest in defining Pakistan as an Islamic state, and he nurtured the jihadist ideology ...
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก่ชาวต่างประเทศ พลเอก โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน เก็บถาวร 2014-12-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๔, ตอน ๒๒๓ ง, ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๐, หน้า ๗๕๕๘