โชเกล ("ธรรมราชา", ทิเบต: ཆོས་རྒྱལ, ไวลี: chos rgyal, สันสกฤต: धर्मराज) คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์แห่งอดีตราชอาณาจักรสิกขิม และ ลาดัก ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย ปกครองโดยราชวงศ์นัมเกล โชเกลปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ตั้งแต่ 1642 ถึง 1975 เมื่อราชาธิปไตยถูกล้มล้างและประชาชนออกเสียงในการลงประชามติเพื่อผนวกสิกขิม เป็นรัฐที่ 22 แห่งอินเดีย

รายพระนามโชเกลแห่งสิกขิม (1642–1975) แก้

No. รัชกาล พระรูป โชเกล
(ช่วงพระชนม์)
Events
1 1642–1670   ปันซอก นัมเกล
(1604–1670)
Ascended the throne and was consecrated as the first Chogyal of Sikkim. สร้างเมืองหลวงที่ยักซอม.
2 1670–1700   เทนซัง นัมเกล
(1644–1700)
ย้ายเมืองหลวงไป รับเดนเซ จากยักซอม
3 1700–1717   จักดอร์ นัมเกล
(1686–1717)
พระขนิษฐา เปนดิองมู พยายามจะชิงราชสมบัติ จักดอร์หนีไปลาซา ภายหลังเสด็จกลับมาขึ้นครองราชย์อีกครั้งภายใต้ความช่วยเหลือของ ทิเบต.
4 1717–1733   กิวเมด นัมเกล
(1707–1733)
สิกขิมมีสงครามกับเนปาล.
5 1733–1780   ปันซอก นัมเกลที่ 2
(1733–1780)
เนปาลตีรับเดนเซ เมืองหลวงสิกขิมขณะนั้น
6 1780–1793   เทนซิง นัมเกล
(1769–1793)
โชเกลลี้ภัยไปทิเบต, ภายหลังสวรรคตขณะลี้ภัย
7 1793–1863   ซุกพัด นัมเกล
(1785–1863)
ทรงราชย์นานสุดในสิกขิม ย้ายเมืองหลวงมายัง ตัมลอง. สนธิสัญญาทิทาเลีย ใน 1817 ระหว่างสิกขิมกับบริติชอินเดีย เป็นเหตุให้เสียดินแดนบางส่วนของเนปาลเพื่อถูกจัดสรรให้สิกขิม ส่วนสิกขิมเสียดาร์จีลิงให้อินเดีย 1835 ชาวอังกฤษ 2 คน หมอ. อาร์ชีบอลด์ แคมป์เบล และ หมอโจเซฟ ดัลตอน ฮูเกอร์ ถูกจับกุมโดยชาวสิกขิมใน 1849. Hostilities between British India and Sikkim continued and led to a treaty signed, in which Darjeeling was ceded to the British Raj.
8 1863–1874   ซิดกง นัมเกล
(1819–1874)
9 1874–1914   ทูท็อบ นัมเกล
(1860–1914)
จอห์น โคลด ไวท์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่การเมือง ในสิกขิมเมื่อ 1889 ทรงย้ายเมืองหลวงจากทัมลองยัง กังตอก ใน 1894
10 1914   ซิดกอง ตุลกู นัมเกล
(1879–1914)
ทรงราชย์สั้นสุดในสิกขิม, ครองราชย์ตั้งแต่ 10 กุมภาพันธ์ ถึง 5 ธันวาคม 1914. สวรรคตด้วย พระหทัยล้มเหลว, พระชนม์ 35, ในสถานการณ์ที่ลึกลับที่สุด
11 1914–1963   ทาชิ นัมเกล
(1893–1963)
มีการลงนามในสนธิสัญญา ระหว่างสิกขิมกลับอินเดียใน 1950, ยินยอมให้อินเดียเป็นผู้มีอำนาจเหนือสิกขิม
12 1963–1975   ปาลเดน ทอนดุบ นัมเกล
(1923–1982)
โชเกลองค์สุดท้ายของสิกขิม สิกขิมถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย ภายหลัภายหลังการลงประชามติ 1975

พระโอรสในปาลเดน ทอนดุบ นัมเกลกับพระชายาองค์แรก, วังชุก นัมเกล (ประสูติ 1 เมษายน 1953) ทรงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ต่อจากพระบิดาจนปัจจุบัน

แหล่งข้อมูลอื่น แก้